
ในตำราตอบโต้วะฮบีย์เล่มหนึ่ง หน้า 49 ผู้เขียน อ้างว่า
ท่านอัลฮาฟิซฺ อิบนุ ฮะญัร ได้กล่าวถึงมัซฮับสะลัฟว่า
إِمْرَارُهَا عَلىَ مَا جَاءَتْ مَفَوَّضاً مَعْنَاهَا إِلَى اللهِ تَعَالَى....قَالَ الطَّيَّبِيُّ: هَذَا هُوَ الْمَذْهَبُ الْمُعْتَمَدُ وَبِهِ يَقُوْلُ السَّلَفُ الصَّالِحُ
"มัซฮับที่สาม คือทำการผ่านพ้นมันไปตามที่ได้มี(ระบุ)มา โดยมอบหมาย(ซึ่งการรู้)ถึงความหมายของมันไปยังอัลเลาะฮ์ตะอาลา...ท่านอัฏฏ็อยยิบีย์กล่าวว่า นี้คือแนวทางที่ได้รับการยึดถือ และเป็นทัศนะคำกล่าวของสะละฟุศศอลิห์" หนังสือฟัตฮุลบารีย์ : 13/190
@@@@@@@
ขอชี้แจงว่า
ข้างต้นเป็นการตัดต่อ
มาดูข้อความเต็มๆ
، قَالَ : وَلِأَهْلِ الْكَلَامِ فِي هَذِهِ الصِّفَاتِ كَالْعَيْنِ وَالْوَجْهِ وَالْيَدِ ثَلَاثَةٌ أَقْوَالٍ : أَحَدُهَا أَنَّهَا صِفَاتُ ذَاتٍ أَثْبَتَهَا السَّمْعُ وَلَا يَهْتَدِي إِلَيْهَا الْعَقْلُ ، وَالثَّانِي أَنَّ الْعَيْنَ كِنَايَةٌ عَنْ صِفَةِ الْبَصَرِ ، وَالْيَدَ كِنَايَةٌ عَنْ صِفَةِ الْقُدْرَةِ ، وَالْوَجْهَ كِنَايَةٌ عَنْ صِفَةِ الْوُجُودِ ، وَالثَّالِثُ إِمْرَارُهَا عَلَى مَا جَاءَتْ مُفَوَّضًا مَعْنَاهَا إِلَى اللَّهِ تَعَالَى ، وَقَالَ الشَّيْخُ شِهَابُ الدِّينِ السَّهْرَوَرْدِيُّ فِي كِتَابِ الْعَقِيدَةِ لَهُ : أَخْبَرَ اللَّهُ فِي كِتَابِهِ وَثَبَتَ عَنْ رَسُولِهِ الِاسْتِوَاءُ وَالنُّزُولُ وَالنَّفْسُ وَالْيَدُ وَالْعَيْنُ ، فَلَا يُتَصَرَّفُ فِيهَا بِتَشْبِيهٍ وَلَا تَعْطِيلٍ ، إِذْ لَوْلَا إِخْبَارُ اللَّهِ وَرَسُولِهِ مَا تَجَاسَرَ عَقْلٌ أَنْ يَحُومَ حَوْلَ ذَلِكَ الْحِمَى ، قَالَ الطِّيبِيُّ : هَذَا هُوَ الْمَذْهَبُ الْمُعْتَمَدُ وَبِهِ يَقُولُ السَّلَفُ الصَّالِحُ ،
แล้วตัดประโยคนี้มา
إِمْرَارُهَا عَلَى مَا جَاءَتْ مُفَوَّضًا مَعْنَاهَا إِلَى اللَّهِ تَعَالَى
แล้วเอาประโยคนี้มาต่อ
، قَالَ الطِّيبِيُّ : هَذَا هُوَ الْمَذْهَبُ الْمُعْتَمَدُ وَبِهِ يَقُولُ السَّلَفُ الصَّالِحُ ،
แล้วเอามาบวกกัน ดังนี้
إِمْرَارُهَا عَلىَ مَا جَاءَتْ مَفَوَّضاً مَعْنَاهَا إِلَى اللهِ تَعَالَى....قَالَ الطَّيَّبِيُّ: هَذَا هُوَ الْمَذْهَبُ الْمُعْتَمَدُ وَبِهِ يَقُوْلُ السَّلَفُ الصَّالِحُ
แล้วมาแปลว่า
"มัซฮับที่สาม คือทำการผ่านพ้นมันไปตามที่ได้มี(ระบุ)มา โดยมอบหมาย(ซึ่งการรู้)ถึงความหมายของมันไปยังอัลเลาะฮ์ตะอาลา...ท่านอัฏฏ็อยยิบีย์กล่าวว่า นี้คือแนวทางที่ได้รับการยึดถือ และเป็นทัศนะคำกล่าวของสะละฟุศศอลิห์" หนังสือฟัตฮุลบารีย์ : 13/190
>>>>>>>>>>
ดูซิครับ ว่าตำราข้างต้นจะเกิดอะไรขึ้น ความจริงข้างต้นไม่ใช่อิบนุหะญัร กล่าวถึง
ทัศนะตัวเอง แต่ท่านกล่าวถึง คำพูดของอิบนุอัลมุนีรว่า
قَالَ : وَلِأَهْلِ الْكَلَامِ فِي هَذِهِ الصِّفَاتِ كَالْعَيْنِ وَالْوَجْهِ وَالْيَدِ ثَلَاثَةٌ أَقْوَالٍ
เขา(อิบนุมุนีร) กล่าวว่า และสำหรับ อะฮลิลกาลาม ในบรรดาคุณลักษณะเหล่านี้ เช่น อัลอัยน(ตา) วัจญ(ใบหน้า) และอัลยัด(มือ) มี 3 ทัศนะ
แล้วอิบนุมุนิร กล่าวถึงทัศนะที่สามว่า
وَالثَّالِثُ إِمْرَارُهَا عَلَى مَا جَاءَتْ مُفَوَّضًا مَعْنَاهَا إِلَى اللَّهِ تَعَالَى
และทัศนะที่สามคือ ปล่อยมันให้ผ่านไป บนสิ่งที่มีมา โดยมอบความหมายของมันแก่อัลลอฮตาอาลา
แต่ผู้เขียน อ้างเพื่อที่จะบอกว่า เป็นทัศนะอิบนุหะญัร มอบหมายความหมายสิฟาต โดยไม่ยุ่งเกี่ยว ไม่แปลความหมาย
มาดูมา คำพูดอิบนุหะญัร ต่อจากนั้น แต่ผู้เขียนนำมาอ้างคือ
وَقَالَ غَيْرُهُ : لَمْ يُنْقَلْ عَنِ النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَلَا عَنْ أَحَدٍ مِنْ أَصْحَابِهِ مِنْ طَرِيقٍ صَحِيحٍ التَّصْرِيحُ بِوُجُوبِ تَأْوِيلِ شَيْءٍ مِنْ ذَلِكَ وَلَا الْمَنْعُ مِنْ ذِكْرِهِ
และคนอื่นจากเขา กล่าวว่า ไม่ได้ถูกรายงานจากนบี ศอ็ลฯ ,ไม่(ได้ถูกรายงาน)จากคนใดจากเศาะหาบะฮของท่าน จากสายรายงานที่เศาะเฮียะ ที่ชัดเจนว่า วาญิบ ต้องตีความ สิ่งใดๆจากดังกล่าว และ ไม่มีการห้ามกล่าวถึงมัน – ดูฟัตหุลบารีย์ 13/190
ขอให้ผู้อ่านพิจารณาและนึกภาพเอาเองว่า "เนื้อหาหนังสือโจมตีวะฮบีย์เล่มนั้นทั้งเล่ม จะ ขนาดใหน
والله أعلم بالصواب
....................
อะสัน หมัดอะดั้ม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น