อัสลามมุอาลัยกุมวาเราะฮมาตุลลอฮิวาบารอกาตุ

ครับ...มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาชีวิต แต่ไม่ช้าก็เร็ว เขาก็ต้องได้พบกับความตาย ถึงแม้เขาจะทำอะไรเก็บไว้มากมาย แต่เมื่อความตายมาถึงมันก็เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนเขาไม่ทันได้เตรียมตัว มนุษย์มักมีเป้าหมายที่จะสร้างความสำเร็จและความรุ่งเรืองขึ้นบนโลก แต่ความตายก็มาทำลายภาพลวงแห่งสำเร็จที่เขาได้วาดหวังไว้ ด้วยเหตุนี้ความตายจึงสอนเขาว่าเขาไม่มีอำนาจอะไรเลยก่อนตาย

เราจะต้องเรียนรู้ความจริงจากความตาย เพราะความลับของชีวิตถูกซ่อนไว้อยู่ในนั้น ความตายแสดงให้เราเห็นว่าเราไม่ใช่นายของตัวเอง เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราวเท่านั้นโลกนี้มิใช่สถานที่สำหรับการทำให้ความฝันของเราเป็นจริง ความตายสอนให้เรารู้ว่าเราควรจะมีชีวิตอย่างไรมันบอกให้เรารู้ถึงหนทางไปสู่ความสำเร็จที่แท้จริงต่างหาก...!!!

วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2558

การยกมือขณะขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู


เรื่องไม่ยกมือคือ ดุอาหลังละหมาดฟัรดูห้าเวลา ดังฟัตวาต่อไปนี้
السؤال
هل يذكر الحديث أن الدعاء بعد الصلاة مستجاب، وأن رفع اليدين من السنة ؟ وكيف نقول لشخص يرفع يديه بعد الصلاة بأن النبي - صلى الله عليه وسلم - لم يرفع يديه بعد الصلاة ؟
ถาม
มีหะดิษถูกระบุไว้หรือไม่ว่า การอ่านดุอาหลังละหมาด เป็นสิ่งที่ถูกตอบรับ และการยกมือทั้งสองเป็นสุนนะฮ ? เราจะกล่าวอย่างไรดี สำหรับผู้ที่ยกมือทังสองของเขา หลังจากละหมาด โดยที่ท่านนบี ไม่ได้ยกมือทั้งสองของท่านหลังจากละหมาด?
الجواب
لا يوجد حديث أن الدعاء بعد الصلاة مستجاب، بل الدعاء في صلب الصلاة أولى من الدعاء بعدها، ولا يشرع رفع اليدين إذا دعا بعد الصلاة الفريضة أو النافلة؛ لعدم ورود ذلك ، وهو أمر تعبدي توقيفي ، لا يفعل إلا بنص، والله أعلم.
ตอบ
ไม่พบหะดิษบทใดเลยที่ว่า การอ่านดุอาหลังจากละหมาดนั้น เป็นสิ่งที่ถูกตอบรับ แต่ทว่า การอ่านดุอาในละหมาด ย่อมดีกว่า การอ่านดุอาหลังละหมาด และไม่มีบัญญัติใช้ให้ยกมือทั้งสอง เมื่อขอดุอาหลังจากละหมาดฟัรดูและละหมาดอาสา เพราะดังกล่าวนั้นไม่มีรายงาน ทั้งๆที่มันเป็นเรื่องเกี่ยวกับ อิบาดะฮ ที่เกียวกับการหยุดอยู่ที่คำสั่ง เขาอย่าได้กระทำ นอกจาก ด้วยหลักฐานเท่านั้น


والله أعلم

.............................................................................
http://www.islamtoday.net/pen/show_question_content.cfm


وقد سئل علماء اللجنة الدائمة للإفتاء : هل الدعاء بعد صلاة الفرض سنة ؟ وهل الدعاء مقرون برفع اليدين ؟ وهل ترفع مع الإمام أفضل أم لا ؟
บรรดาปราชญ์ คณะกรรมการถาวรเพือตอบปัญหาศาสนา ถูก ถามว่า “ ดุอาหลังละหมาดฟัรดู เป็นสุนนะฮหรือไม่ ? ดุอาพร้อมกับยกมือทั้งสองไหม? การยกมือพร้อมกับอิหม่าม มีความประเสริฐหรือไม่?
فأجابوا : "ليس الدعاء بعد الفرائض بسنة إذا كان ذلك برفع الأيدي ، سواء كان من الإمام وحده أو المأموم وحده أو منهما جميعا، بل ذلك بدعة؛ لأنه لم ينقل عن النبي صلى الله عليه وسلم ولاعن أصحابه رضي الله عنهم، أما الدعاء بدون ذلك فلا بأس به لورود بعض الأحاديث في ذلك" انتهى.
พวกเขาตอบว่า “ ดุอาอาหลังจากละหมาดฟัรดู ไม่มีสุนนะฮ เมื่อปรากฏว่า การกระดังกล่าวนั้น ด้วยการยกมือทั้งสอง ไม่ว่า อิหม่ามปฏิบัติคนเดียว หรือ มะมูมปฏิบัติคนเดียว หรือ ปฏิบัติร่วมกัน จากเขาทั้งสอง แต่ทว่า ดังกล่าวนั้นเป็นบิดอะฮ เพราะไม่มีรายงานจากนบี ศอ็ลฯ และ จากบรรดาสาวกของท่าน ,สำหรับ ดุอา โดยไม่ยกมือนั้น ไม่เป็นไร หากว่ามีรายงาน บางส่วนของบรรดาหะดิษ ในดังกล่าวนั้น
"فتاوى اللجنة الدائمة" (7/103) .

http://www.ahlalhdeeth.com/vb/showthread.php?t=121277

บางคนอ้างว่านบี ศอ็ลฯ ดุอายกมือหลังจากละหมาดฟัรดูโดยอ้างหะดิษต่อไปนี้คือ
ท่านอัลฏ็อบรอนีย์ ได้รายงานจาก มุฮัมมัด บิน อบี ยะห์ยา ซึ่งเขาได้กล่าวว่า
رأيت عبدالله بن الزبير ورأى رجلا رافعا يديه يدعو فبل أن يفرغ من صلاته ، فلما فرغ منها قال له : إن رسول الله لم يكن يرفع يديه حتى يفرغ من صلاته
"ฉันได้เห็นท่านอับดุลเลาะห์ บุตร ซุบัยร์ ท่านได้เห็นผู้ชายคนหนึ่งได้ยกสองมือวอนขอก่อนจากเสร็จละหมาด(ในละหมาด) ต่อมาในขณะที่เขาเสร็จละหมาด ท่านอับดุลเลาะห์ ได้กล่าวแก่ชายผู้นั้นว่า แท้จริงท่านร่อซู้ล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคยยกสองมือวอนขอในละหมาดเลย จนกว่าท่านจะเสร็จละหมาด" ท่านอัลฮาฟิซฺ อัลฮัยษะมีย์ กล่าวว่า นักรายงานของฮะดิษนี้ เชื่อถือได้ (ษิก็อต) หนังสือมัญมะอ์ชาวาเอ็ด 1/196
>>>>>>>>>>>>>>
ชี้แจง
มาดูสายรายงานหะดิษข้างต้น
حَدَّثَنَا سُلَيْمَانُ بْنُ الْحَسَنِ الْعَطَّارُ ، قَالَ : حَدَّثَنَا أَبُو كَامِلٍ الْجَحْدَرِيُّ ، قَالَ : حَدَّثَنَا الْفُضَيْلُ بْنُ سُلَيْمَانَ ، قَالَ : حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ أَبِي يَحْيَى ، قَالَ : رَأَيْتُ عَبْدَ اللَّهِ بْنَ الزُّبَيْرِ ، وَرَأَى رَجُلًا رَافِعًا يَدَيْهِ يَدْعُو قَبْلَ أَنْ يَفْرَغَ مِنْ صَلاتِهِ ، فَلَمَّا فَرَغَ مِنْهَا ، قَالَ : " إِنَّ رَسُولَ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ لَمْ يَكُنْ يَرْفَعُ يَدَيْهِ ، حَتَّى يَفْرَغَ مِنْ صَلاتِهِ " .
ผู้รายงานคือ
1. سُلَيْمَانُ بْنُ الْحَسَنِ الْعَطَّارُ
2. أَبُو كَامِلٍ الْجَحْدَرِيُّ
3. الْفُضَيْلُ بْنُ سُلَيْمَانَ
4. مُحَمَّدُ بْنُ أَبِي يَحْيَى
5. عبد الله بن الزبير
หะดิษข้างต้น สายรายงานเฎาะอีฟ ด้วยสาเหตุดังนี้
1. รายรายงานขาดตอน ระหว่าง มุหัมหมัด บิน อบียะหยา ซึ่ง เสียชีวิต ปีฮ.ศ 144 ในขณะที่ อับดุลลอฮ บิน อัซซุบัยรฺ เสียชีวิต ปี ฮ.ศ 72
เช็คบักรฺ อบู เซด (ร.ฮ) กล่าวว่า
في سنده انقطاع بين محمد بن أبي يحيى الأسلمي وبين عبد الله بن الزبير " انتهى .
ในสายรายงาน ของมัน ขาดตอน ระหว่าง มุหัมหมัด บิน อบี ยะหยา อัลอัสละมีย์ และระหว่าง อับดุลลอฮ บิน อัซซุบัยรฺ
" تصحيح الدعاء " (ص/440)
2. ผู้รายงานที่ชื่อ อัลฟุฎัยลฺ บิน สุลัยมาน นักวิชาการส่วนมากระบุว่า เขาหลักฐานอ่อน (เฎาะอีฟ) เช่น อิบนุ มุอีน,อับดุรเราะหมาน บิน มะฮดีย์ ,อันนะสาอีย์ และคนอื่นๆ ดูคำวิจารณ์ของพวกเข้าได้ใน อัตตะฮซีบุตตะฮซีบ 4/481
3. อัลหาฟิซอิบนุหะญัร กล่าวว่า
صدوق له خطأ كثير"
เป็นมีสัจจะ เขามีความผิดพลาดมากมาย –ดู ตักรีบุตตะฮซีบ หะดิษหมายเลข 5462




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น