อัสลามมุอาลัยกุมวาเราะฮมาตุลลอฮิวาบารอกาตุ

ครับ...มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาชีวิต แต่ไม่ช้าก็เร็ว เขาก็ต้องได้พบกับความตาย ถึงแม้เขาจะทำอะไรเก็บไว้มากมาย แต่เมื่อความตายมาถึงมันก็เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนเขาไม่ทันได้เตรียมตัว มนุษย์มักมีเป้าหมายที่จะสร้างความสำเร็จและความรุ่งเรืองขึ้นบนโลก แต่ความตายก็มาทำลายภาพลวงแห่งสำเร็จที่เขาได้วาดหวังไว้ ด้วยเหตุนี้ความตายจึงสอนเขาว่าเขาไม่มีอำนาจอะไรเลยก่อนตาย

เราจะต้องเรียนรู้ความจริงจากความตาย เพราะความลับของชีวิตถูกซ่อนไว้อยู่ในนั้น ความตายแสดงให้เราเห็นว่าเราไม่ใช่นายของตัวเอง เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราวเท่านั้นโลกนี้มิใช่สถานที่สำหรับการทำให้ความฝันของเราเป็นจริง ความตายสอนให้เรารู้ว่าเราควรจะมีชีวิตอย่างไรมันบอกให้เรารู้ถึงหนทางไปสู่ความสำเร็จที่แท้จริงต่างหาก...!!!

วันศุกร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

การยึดมั่นของมุอฺตะซิละฮฺที่มีอิทธิพลอย่างชัดเจนต่ออะกีดะฮฺอะชาอิเราะฮฺกุลลาบิยะฮฺ


ส่วนหนึ่งของตัวอย่างการยึดมั่นของมุอฺตะซิละฮฺที่มีอิทธิพลอย่างชัดเจนต่ออะกีดะฮฺอะชาอิเราะฮฺกุลลาบิยะฮฺจนกระทั่งเวลาปัจจุบันคือ การตีความอายะฮฺ

الرحمن على العرش استوى
“พระผู้อภิบาลผู้ทรงเมตตาทรงอยู่สูงเหนืออะรัช” (ฏอฮา/5)

โดยอะชาอิเราะฮฺได้ให้ความหมายของอายะฮฺนี้ว่า “อิสเตาลา” หมายถึง “ครอบครอง” ซึ่งความหมายเช่นนี้เป็นการยึดมั่นของมุอฺตะซิละฮฺ (มะกอลาตอัลอิสลามิยีน หน้า 157, 211, อัลอิบานะฮฺ หน้า 120) ที่ค้านกับการให้ความหมายของอะฮฺลุสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ (ที่ให้ความหมายว่า “อะลา วัรตะฟะอา หมายถึง อยู่สูงเหนือ)

แต่ทว่าบรรดาอุละมาอ์และแกนนำสายอะชาอิเราะฮฺกุลลาบิยะฮฺส่วนใหญ่ต่างให้น้ำหนักกับความหมายดังกล่าว และเชื่อว่านั่นคือการยึดมั่นที่ถูกต้องของอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺ (ดูเพิ่มเติมใน อัลอิรชาด ของ อิมาม อัลหะเราะมัยน์ หน้า 40, อัลอิกติศอด ฟี อัลอิอฺติกอด ของอิมาม อัลเฆาะซาลีย์ หน้า 38, อะสาส อัตตักดีส ของอิมาม อัรรอซีย์ หน้า 202, ฆอยะตุลมะรอม ของ อัลอามิดีย์ หน้า 141, อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต ของอัลบัยฮะกีย์ เล่ม 2 หน้า 309) แต่แท้ที่จริงแล้ว ไม่ได้เป็นเช่นนั้น วัลลอฮุอะอฺลัม

เรามาร่วมเป็นสักขีพยานต่อการยืนยันของแกนนำมุอฺตะวิละฮฺ และการปฏิเสธของบรรดาอุละมาอ์ที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าว ดังนี้

1. กอฎีอับดุลญับบาร อัลมุอฺตะซิลีย์ (ต.415 ฮ.ศ.) กล่าวว่า “แท้จริงความหมายของ “อิสตะวา” คือ “อิสเตาลา” (การครอบครอง) (ตันซีฮฺ อัลกุรอาน อัน อัลมะฏออิน ของกอฎี อับดุลญับบาร หน้า 175, 199, 253, ชัรหฺอัลอุศูล อัลค็อมสะฮฺ หน้า 226 อัลมุคตะศ็อล ฟีอุศูลิดดีน หน้า 333)

2. อัลบัยฮะกีย์ (ต.458 ฮ.ศ.) -หลังจากที่ท่านได้ยกทัศนะของบรรดาสะลัฟศอลิหฺจากกลุ่มอะฮฺลิสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ เกี่ยวกับความหมายของคำว่า “อิสตะวา” ที่แปลว่า “อะลา วัรตะฟะอา” (อยู่สูงเหนือ) หรือ อิสตะวาโดยไม่ทราบวิธีการ (استوى بلا كيف) (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 303-308)- ท่านก็กล่าวยืนยันว่า “บนแนวทางนี้แหละที่บ่งบอกโดยมัซฮับอิมามอัชชาฟิอีย์ (วะศิยะฮฺอัลอิมามมุหัมมัด บิน อิดรีส อัชชาฟิอีย์ หน้า 39) และนี่แหละคือทัศนะของอะหมัด บิน หันบัล, อัลหุเสน บิน อัลฟัฎล์ อัลบะยะลีย์ และอบูสุลัยมาน อัลค็อตฏอบีย์...” (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 308)

อัลบัยฮะกีย์ยังกล่าวอีกว่า “อิสตะวา” ในอายะฮฺนี้ ไม่ใช่มีความหมาย “อิสเตาลา” (ปกครองและควบคุม) เพราะคำว่า “อิสตีลาอ์” จะให้ความหมายของการเอาชนะที่อาจจะเกิดความอ่อนแอ (เพลี่ยงพล้ำ) ได้” (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 310)

ส่วนหนึ่งของตัวอย่างการยึดมั่นของมุอฺตะซิละฮฺที่มีอิทธิพลอย่างชัดเจนต่ออะกีดะฮฺอะชาอิเราะฮฺกุลลาบิยะฮฺจนกระทั่งเวลาปัจจุบันคือ การตีความอายะฮฺ
الرحمن على العرش استوى
“พระผู้อภิบาลผู้ทรงเมตตาทรงอยู่สูงเหนืออะรัช” (ฏอฮา/5)
โดยอะชาอิเราะฮฺได้ให้ความหมายของอายะฮฺนี้ว่า “อิสเตาลา” หมายถึง “ครอบครอง” ซึ่งความหมายเช่นนี้เป็นการยึดมั่นของมุอฺตะซิละฮฺ (มะกอลาตอัลอิสลามิยีน หน้า 157, 211, อัลอิบานะฮฺ หน้า 120) ที่ค้านกับการให้ความหมายของอะฮฺลุสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ (ที่ให้ความหมายว่า “อะลา วัรตะฟะอา หมายถึง อยู่สูงเหนือ)

แต่ทว่าบรรดาอุละมาอ์และแกนนำสายอะชาอิเราะฮฺกุลลาบิยะฮฺส่วนใหญ่ต่างให้น้ำหนักกับความหมายดังกล่าว และเชื่อว่านั่นคือการยึดมั่นที่ถูกต้องของอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺ (ดูเพิ่มเติมใน อัลอิรชาด ของ อิมาม อัลหะเราะมัยน์ หน้า 40, อัลอิกติศอด ฟี อัลอิอฺติกอด ของอิมาม อัลเฆาะซาลีย์ หน้า 38, อะสาส อัตตักดีส ของอิมาม อัรรอซีย์ หน้า 202, ฆอยะตุลมะรอม ของ อัลอามิดีย์ หน้า 141, อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต ของอัลบัยฮะกีย์ เล่ม 2 หน้า 309) แต่แท้ที่จริงแล้ว ไม่ได้เป็นเช่นนั้น วัลลอฮุอะอฺลัม

เรามาร่วมเป็นสักขีพยานต่อการยืนยันของแกนนำมุอฺตะวิละฮฺ และการปฏิเสธของบรรดาอุละมาอ์ที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าว ดังนี้

1. กอฎีอับดุลญับบาร อัลมุอฺตะซิลีย์ (ต.415 ฮ.ศ.) กล่าวว่า “แท้จริงความหมายของ “อิสตะวา” คือ “อิสเตาลา” (การครอบครอง) (ตันซีฮฺ อัลกุรอาน อัน อัลมะฏออิน ของกอฎี อับดุลญับบาร หน้า 175, 199, 253, ชัรหฺอัลอุศูล อัลค็อมสะฮฺ หน้า 226 อัลมุคตะศ็อล ฟีอุศูลิดดีน หน้า 333)

2. อัลบัยฮะกีย์ (ต.458 ฮ.ศ.) -หลังจากที่ท่านได้ยกทัศนะของบรรดาสะลัฟศอลิหฺจากกลุ่มอะฮฺลิสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ เกี่ยวกับความหมายของคำว่า “อิสตะวา” ที่แปลว่า “อะลา วัรตะฟะอา” (อยู่สูงเหนือ) หรือ อิสตะวาโดยไม่ทราบวิธีการ (استوى بلا كيف) (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 303-308)- ท่านก็กล่าวยืนยันว่า “บนแนวทางนี้แหละที่บ่งบอกโดยมัซฮับอิมามอัชชาฟิอีย์ (วะศิยะฮฺอัลอิมามมุหัมมัด บิน อิดรีส อัชชาฟิอีย์ หน้า 39) และนี่แหละคือทัศนะของอะหมัด บิน หันบัล, อัลหุเสน บิน อัลฟัฎล์ อัลบะยะลีย์ และอบูสุลัยมาน อัลค็อตฏอบีย์...” (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 308)

อัลบัยฮะกีย์ยังกล่าวอีกว่า “อิสตะวา” ในอายะฮฺนี้ ไม่ใช่มีความหมาย “อิสเตาลา” (ปกครองและควบคุม) เพราะคำว่า “อิสตีลาอ์” จะให้ความหมายของการเอาชนะที่อาจจะเกิดความอ่อนแอ (เพลี่ยงพล้ำ) ได้” (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 310)

ส่วนหนึ่งของตัวอย่างการยึดมั่นของมุอฺตะซิละฮฺที่มีอิทธิพลอย่างชัดเจนต่ออะกีดะฮฺอะชาอิเราะฮฺกุลลาบิยะฮฺจนกระทั่งเวลาปัจจุบันคือ การตีความอายะฮฺ
الرحمن على العرش استوى
“พระผู้อภิบาลผู้ทรงเมตตาทรงอยู่สูงเหนืออะรัช” (ฏอฮา/5)
โดยอะชาอิเราะฮฺได้ให้ความหมายของอายะฮฺนี้ว่า “อิสเตาลา” หมายถึง “ครอบครอง” ซึ่งความหมายเช่นนี้เป็นการยึดมั่นของมุอฺตะซิละฮฺ (มะกอลาตอัลอิสลามิยีน หน้า 157, 211, อัลอิบานะฮฺ หน้า 120) ที่ค้านกับการให้ความหมายของอะฮฺลุสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ (ที่ให้ความหมายว่า “อะลา วัรตะฟะอา หมายถึง อยู่สูงเหนือ)

แต่ทว่าบรรดาอุละมาอ์และแกนนำสายอะชาอิเราะฮฺกุลลาบิยะฮฺส่วนใหญ่ต่างให้น้ำหนักกับความหมายดังกล่าว และเชื่อว่านั่นคือการยึดมั่นที่ถูกต้องของอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺ (ดูเพิ่มเติมใน อัลอิรชาด ของ อิมาม อัลหะเราะมัยน์ หน้า 40, อัลอิกติศอด ฟี อัลอิอฺติกอด ของอิมาม อัลเฆาะซาลีย์ หน้า 38, อะสาส อัตตักดีส ของอิมาม อัรรอซีย์ หน้า 202, ฆอยะตุลมะรอม ของ อัลอามิดีย์ หน้า 141, อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต ของอัลบัยฮะกีย์ เล่ม 2 หน้า 309) แต่แท้ที่จริงแล้ว ไม่ได้เป็นเช่นนั้น วัลลอฮุอะอฺลัม

เรามาร่วมเป็นสักขีพยานต่อการยืนยันของแกนนำมุอฺตะวิละฮฺ และการปฏิเสธของบรรดาอุละมาอ์ที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าว ดังนี้

1. กอฎีอับดุลญับบาร อัลมุอฺตะซิลีย์ (ต.415 ฮ.ศ.) กล่าวว่า “แท้จริงความหมายของ “อิสตะวา” คือ “อิสเตาลา” (การครอบครอง) (ตันซีฮฺ อัลกุรอาน อัน อัลมะฏออิน ของกอฎี อับดุลญับบาร หน้า 175, 199, 253, ชัรหฺอัลอุศูล อัลค็อมสะฮฺ หน้า 226 อัลมุคตะศ็อล ฟีอุศูลิดดีน หน้า 333)

2. อัลบัยฮะกีย์ (ต.458 ฮ.ศ.) -หลังจากที่ท่านได้ยกทัศนะของบรรดาสะลัฟศอลิหฺจากกลุ่มอะฮฺลิสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ เกี่ยวกับความหมายของคำว่า “อิสตะวา” ที่แปลว่า “อะลา วัรตะฟะอา” (อยู่สูงเหนือ) หรือ อิสตะวาโดยไม่ทราบวิธีการ (استوى بلا كيف) (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 303-308)- ท่านก็กล่าวยืนยันว่า “บนแนวทางนี้แหละที่บ่งบอกโดยมัซฮับอิมามอัชชาฟิอีย์ (วะศิยะฮฺอัลอิมามมุหัมมัด บิน อิดรีส อัชชาฟิอีย์ หน้า 39) และนี่แหละคือทัศนะของอะหมัด บิน หันบัล, อัลหุเสน บิน อัลฟัฎล์ อัลบะยะลีย์ และอบูสุลัยมาน อัลค็อตฏอบีย์...” (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 308)

อัลบัยฮะกีย์ยังกล่าวอีกว่า “อิสตะวา” ในอายะฮฺนี้ ไม่ใช่มีความหมาย “อิสเตาลา” (ปกครองและควบคุม) เพราะคำว่า “อิสตีลาอ์” จะให้ความหมายของการเอาชนะที่อาจจะเกิดความอ่อนแอ (เพลี่ยงพล้ำ) ได้” (อัลอัสมาอ์ วัสศิฟาต เล่ม 2 หน้า 310)


 ท่านอบูหะซัน อัลอัชอารีย์ ได้อ้างหลักฐานอีกว่า
ذينار عن نافع عن جبير عن أبيه رضي الله عنهم أجمعين أن النبي صلى الله عليه وسلم قال ينزل ربنا عز وجل كل ليلة إلى السماء الدنيا فيقول هل من سائل فأعطيه هل من مستغفر فأغفر له حتى يطلع الفجر
روى عبيدالله بن بكر قال ثنا هشام بن أبي عبدالله عن يحيى بن كثير عن أبي جعفر أنه سمع أبا حفص يحدث أنه سمع أبا هريرة رضي الله عنه قال قال رسول الله صلى الله عليه وسلم إذا بقى ثلث الليل ينزل الله تبارك وتعالى فيقول من ذا الذي يدعوني أستجيب له من ذا الذي يستكشف الضر فأكشفه عنه من ذا الذي يسترزقني فأرزقه حتى ينفجر الفجر
อัมริน บุตร ดีนาร จากนาเฟียะ จากญุบัยร์ จากบิดาของเขา (ขออัลลอฮโปรดประทานความโปรดปรานให้แก่พวกเขาทั้งหมดด้วยเถิด) ว่า แท้จริงท่านนบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า "พระเจ้าของเราผู้ทรงเกรียงไกร ผู้ทรงสูงส่ง ได้เสด็จลงมายังฟากฟ้าดุนยา ในทุกๆคืน แล้วตรัสว่า มีผู้ใดจะขอไหม เราจะมอบให้แก่เขา ,มีผู้ใดขออภัยโทษไหม เราก็จะอภัยโทษให้แก่เขา จนกระทั่งรุ่งอรุณขึ้น



รายงานโดยอุบัยดุลลอฮ บุตร บะกัร กล่าวว่า ฮิชาม บุตร อบีอับดิลละฮ ได้เล่าแก่เรา จากยะห์ยา บุตร กะษีร จากอบียะอฺฟัร ว่า เขาได้ยิน อบูหัฟศิน เล่าว่า เขาได้ยิน อบูฮุรัยเราะฮ (ร.ฎ) กล่าวว่า ท่านรซูลุ้ลลอฮ ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า "เมื่อเหลือหนึ่งในสามของกลางคืน อัลลอฮ ผู้ทรงบริสุทธิ์ ผู้ทรงสูงส่ง เสด็จลงมา แล้วตรัสว่า "ผู้ใดเล่า เป็นผู้ที่วิงวอนขอต่อข้า ข้าก็จะตอบรับให้แก่เขา,ผู้ใดเล่า เป็นผู้ที่ขอให้ปลดเปลื้องความเดือดร้อน ข้าก็จะปลดเปลื้องมันให้พ้นจากเขา ,ผู้ใดเล่า เป็นผู้ที่ขอปัจจัยยังชีพต่อข้า ข้าก็จะประทานปัจจัยยังชีพให้แก่เขา จนกระทั่งรุ่งอรุณขึ้น" - ดู อัลอิบานะฮ เล่ม 1 หน้า 111 ..........
..........
จะเห็นได้ว่า ท่านอบูหะซัน อัลอัชอารีย์ ไม่ได้ตีความ คำว่า "ينزل الله تبارك وتعالى ตามที่พวกอัลอะชาอีเราะฮ ปัจจุบันตีความว่า "ความเมตตาของอัลลอฮ"ได้ล่งมา



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น