อัสลามมุอาลัยกุมวาเราะฮมาตุลลอฮิวาบารอกาตุ

ครับ...มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาชีวิต แต่ไม่ช้าก็เร็ว เขาก็ต้องได้พบกับความตาย ถึงแม้เขาจะทำอะไรเก็บไว้มากมาย แต่เมื่อความตายมาถึงมันก็เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนเขาไม่ทันได้เตรียมตัว มนุษย์มักมีเป้าหมายที่จะสร้างความสำเร็จและความรุ่งเรืองขึ้นบนโลก แต่ความตายก็มาทำลายภาพลวงแห่งสำเร็จที่เขาได้วาดหวังไว้ ด้วยเหตุนี้ความตายจึงสอนเขาว่าเขาไม่มีอำนาจอะไรเลยก่อนตาย

เราจะต้องเรียนรู้ความจริงจากความตาย เพราะความลับของชีวิตถูกซ่อนไว้อยู่ในนั้น ความตายแสดงให้เราเห็นว่าเราไม่ใช่นายของตัวเอง เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราวเท่านั้นโลกนี้มิใช่สถานที่สำหรับการทำให้ความฝันของเราเป็นจริง ความตายสอนให้เรารู้ว่าเราควรจะมีชีวิตอย่างไรมันบอกให้เรารู้ถึงหนทางไปสู่ความสำเร็จที่แท้จริงต่างหาก...!!!

วันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2560

เสวนาเรื่องอิบาดะฮฺมีบิดอะฮฮาซานะฮฺจริงหรือ (ตอนที่ 17)


ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม ผมหมายถึงสรุปสิ่งที่ชี้แจงไม่ชัดเจน

เช่นของผมชี้แจงไม่ชัดเจนตรงไหนก้อว่ามา แต่ที่แน่ๆบังฮาสันไม่เคยชี้แจงคำถามผมให้ชัดเจน...
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม เพราะสิ่งที่บังฮาสันยกมานั้นทรรศนะนักปราชญ์ส่วนใหญ่ก้อแบ่งบิดอะห์ออกเป็นสองประเภททั้งนั้น ถึงแม้จะเป็นการแบ่งทางภาษา อุลามะก้ออธิบายว่า สิ่งที่สอดคล้องกับหลักฐานนั้นไม่ใช่บิดอะห์ตามหลักซารีอัต. 

ส่วนที่อ้างว่าทุกๆบิดอะห์หลงผิด ผมก้อยกทรรศนะอุลามะแล้วว
่าเป็นบิดอะห์มุฏลักที่บ่งชี้ถึงสิ่งที่ขัดแย้งกับหลักฐานเท่านั้น...

แต่ที่แน่ๆบังฮาสันไม่เคยชี้แจง ละหมาดตารอแวฮคือบิดอะห์ดุนยาหรือไม่ สุนนนะห์คอลีฟะคือสุนนะห์ด้านอิสตีลาฮหรือไม่...และอีกหลายๆข้อ
Asan Binabdullah ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม
ผมขอถามท่านด้วยคำถามง่ายๆ โดยไม่ต้องก้อปวางทรรศนะอุลามะให้เปลืองที่ เพื่อผู้ติดตามจะได้เข้าใจว่า คุณเข้าใจทรรศนะอุลามะอย่างไร 
จาก 8 ข้อที่อะฮลุลบิดอะฮ ใช้ตรรกถาม เพื่อซื้อเวลา (ผมได้ละเอาไว้ ให้ผู้อ่านตามดูว่ามีอะไรบ้าง เพรา
ะเปลืองเนื้อที่) ผมตอบโดยสรุปดังนี้
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
8 ข้อข้างต้นที่ถาม เขาเรียกการใช้ตรรก ถามตามสไตล์ เพื่อจะได้ยืดเวลา และตัวเองหมดหลักฐาน แต่จะได้หลักแถต่อเพื่ออย่าให้เสียหน้า ความจริงผมบอกแล้วว่า ผมไม่ตอบหากเป็นโพสต์ที่ไม่นำแสนอหลักฐานเพราะเสียเวลา และข้างต้น นาย ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม ใช้ตรรก ไม่ใช่หลักฐาน และไม่เข้าใจคำว่าสุนนะฮ เคาะลิฟะฮ ว่าคือ สุนนะฮที่ท่านนบีได้สั่งเสียให้ปฏิบัติตาม แล้วชงสุนนะฮเคาะละฟะฮให้เป็นบิดอะฮ เพื่อเป็นข้ออ้างรับรับรองการอุตริบิดอะฮที่พวกตนททำ เช่น อีซีกุโบร์ ,เมาลิดอะฮ อื่นๆ ทั้งๆ สิ่งที่ท่านอุมัรปฏิบิติ คือ สุนนะฮของนบี แล้วท่านอุมัร ได้ริเริมขึ้นใหม่ หลังจากที่ท่านนบีได้หยุดไปเพราะเกรงจะเป็นฟัรดูและในในยุคเตาะลิฟะฮอบูบักร์ ไม่ได้มีการปฏิบัติตามที่นบีเคย แล้วท่านอุมัร ได้ริเริ่มขึ้นใหม่ ท่านจึงใช้คำว่า “บิดอะฮ” ความหมายคือการริ่เริ่ม ไม่ใช่ทำในสิ่งที่ไม่มีในสุนนะฮ
ท่านอิบนุเราะญับ(ร.ฮ) อธิบายว่า
وَرُوِيَ عَنْ أُبَيِّ بْنِ كَعْبٍ ، قَالَ لَهُ : إِنَّ هَذَا لَمْ يَكُنْ ، فَقَالَ عُمَرُ : قَدْ عَلِمْتُ ، وَلَكِنَّهُ حَسَنٌ ، وَمُرَادُهُ أَنَّ هَذَا الْفِعْلَ لَمْ يَكُنْ عَلَى هَذَا الْوَجْهِ قَبْلَ هَذَا الْوَقْتِ ، وَلَكِنَّ لَهُ أُصُولٌ مِنَ الشَّرِيعَةِ يُرْجَعُ إِلَيْهَا ، فَمِنْهَا أَنَّ النَّبِيَّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ كَانَ يَحُثُّ عَلَى قِيَامِ رَمَضَانَ ، وَيُرَغِّبُ فِيهِ
และได้ถูกรายงานจาก อบุบัย บิน กะอับ ว่าเขาได้กล่าวแก่เขา(อุมัร)ว่า แท้จริงสิ่งนี้ไม่เคยปรากฏ แล้วอุมัรกล่าวว่า ฉันรู้แล้ว แต่มัน เป็นสิ่งที่ดีงาม ความประสงค์ของเขา (ของอุมัร)คือ แท้จริง การกระทำนี้ ไม่ปรากฏ ตามรูปแบบนี้ ก่อนเวลานั้น แต่มันมีบรรดารากฐาน(ที่มา)จากชะรีอะฮ ที่จะกลับไปหามัน และส่วนหนึ่งจากมันคือ แท้จริงนบี ศอ็ลฯ ได้ส่งเสริมให้ละหมาดกิยามุเราะมะฎอน และได้กระตุ้นให้ปฏิบัติมัน – ดู ญามิอุลอุลูลวัลหิกัม 2/129
......
คือ ที่ท่านอุมัร ใช้คำว่าบิดอะฮ เพราะรูปแบบการละหมาดตารอเวียะ ไม่ปรากฏ ในเวลาก่อนหน้านั้น หมายถึงในยุค เคาะลีฟะฮอบูบักร์ ซึ่งอิบนุอัลอะษีรก็ได้ระบุเช่นกัน
แต่สิ่งนี้ มีหลักฐานที่มาจกสุนนะฮที่นบี ศอ็ลฯได้ส่งเสริมให้ทำ แล้วมันจะเป็นบิดอะฮได้อย่างไร
Asan Binabdullah มาดูหลักฐานเช่น
«إِنَّهُ مَنْ قَامَ مَعَ الإِمَامِ حتى يَنْصَرِفَ كُتِبَ لَهُ قِيَامُ لَيْلَةٍ» [رواه أصحاب السنن بسند صحيح]
ความว่า: "แท้จริง ผู้ใดยืนละหมาดพร้อมอิหม่ามจนเสร็จสิ้นการละหมาด เขาจะได้รับการบันทึกผลบุญเทียบเท่าการยืนละหมาดตลอดทั้งคืน" (บั
นทึกโดยนักบันทึกสุนันด้วยสายรายงานที่เศาะฮีหฺ)
………..
ข้างต้นท่านนบี ศอ็ลฯส่งเสริมให้ละหมาดกิยามุเราะมะฎอน ก็คือละหมาดตารอเวียะในรูปแบบญะมาอะฮ นั้นเอง
มาดูต่อ..ท่านอิบนุเราะญับ ได้ยกตัวอย่างที่ว่า การกระทำของท่านอุมัร มีรากฐานมาจากชะรีอะฮ คือ
وَمِنْهَا أَنَّهُ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ أَمَرَ بِاتِّبَاعِ سُنَّةَ خُلَفَائِهِ الرَّاشِدِينَ ، وَهَذَا قَدْ صَارَ مِنْ سُنَّةِ خُلَفَائِهِ الرَّاشِدِينَ ، فَإِنَّ النَّاسَ اجْتَمَعُوا عَلَيْهِ فِي زَمَنِ عُمَرَ وَعُثْمَانَ وَعَلِيٍّ
และส่วนหนึ่งจากมันคือ แท้จริง นบี ศอ็ลฯ สั่งให้ปฏิบัติตามสุนนะฮบรรดาเคาะลิฟะฮอัรรอชิดีดีน และนี้ มันก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งจากสุนนะฮ ของบรรดาเคาะลิฟะฮอัรรอชิดีนของท่านนบี เพราะแท้จริง บรรดามนุษย์ได้รวมตัวกันบนมัน ในสมัยอุมัร,อุษมานและอาลี -ดู ญามิอุลอุลูลวัลหิกัม 2/129
...........
ผมได้ยกหลักฐานมามากมากมาย แต่ไม่ต่างอะไร กับการ “เป่าปี่ให้ควายฟัง” ตามสำนวนไทย เพราะอะฮลุลบิดอะฮ ไม่รู้เรื่อง ถือเอาความเห็นและนัฟซูตัวเองเป็นศาสนา เพื่อรักษาบิดอะฮจุดสุดชีวิต
ผมไม่มีเวลามาตอบตรรกะที่ถามแถมากมายเพื่อซื้อเวลา เพราะช่วงนี้ต้องเดินทาง วันนี้ไปสตูล เนื่องจากเตรียมจัดงานมูลนิธิฯของผม คงกลับค่ำอีก
Asan Binabdullah แต่ขอถามบ้าง ให้นายตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรมตอบ และให้ตอบด้วยหลักฐานเท่านั้น
1.การทำอีซีกุโบร์ และทำเมาลิด เป็นสุนนะฮเคาละฟะฮ หรือไม่ (ขอหลักฐาน)
2. การละหมาดตะรอเวียะในรูปญะมาอะฮ เทียบกับ การทำอีซีกุโบร์ ทำเมาลิด และการทำบุญเรื่องจากการตายหรือ ทักษิณ
านุปทาน ทีพวกคุณอุตริมาหรือไม่(ขอหลักฐานประกอบ)
3. คุณกล้าสาบานด้วยนามอัลลอฮหรือไม่ว่า บิดอะฮที่คุณอุตริขึ้นมาเช่น การทำอีซีกุโบร์ ทำเมาลิด และการทำบุญเรื่องจากการตาย 3 วัน 7 วัน เปรียบได้กับการกระทำของเคาะลิฟะฮรอชิดีดีนที่นบี ศอ็ลฯรับรองหรือไม่ หากไม่เหมือน ก็ให้อัลลอฮให้คุณประสบวิบัติภายใน 7 วัน
......
ส่วนผมสาบานด้วยนามอัลลอฮว่า เช่น การทำอีซีกุโบร์ ทำเมาลิด และการทำบุญเรื่องจากการตาย 3 วัน 7 วัน เป็นบิดอะฮในทางศาสนา และการกระทำของเคาะฟะฮคือสุนนะฮไม่ใช่บิดอะฮ ในทางศาสนบัญญัติ 
ดึกๆคืนนี้ผมจะมาอ่านคำตอบ ขอให้กรรมการเตือนให้นายฮัมดี สุหลงตอบด้วย
Asan Binabdullah อัลหาฟิซ อิบนุเราะญับ (ร.ฮ) กล่าวว่า

فَقَوْلُهُ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : كُلُّ بِدْعَةٍ ضَلَالَةٌ مِنْ جَوَامِعِ الْكَلِمِ لَا يَخْرُجُ عَنْهُ شَيْءٌ ، وَهُوَ أَصْلٌ عَظِيمٌ مِنْ أُصُولِ الدِّينِ ، وَهُوَ شَبِيهٌ بِقَوْلِهِ : مَنْ أَحْدَثَ 
فِي أَمْرِنَا مَا لَيْسَ مِنْهُ فَهُوَ رَدٌّ ، فَكُلُّ مَنْ أَحْدَثَ شَيْئًا ، وَنَسَبَهُ إِلَى الدِّينِ ، وَلَمْ يَكُنْ لَهُ أَصْلٌ مِنَ الدِّينِ يَرْجِعُ إِلَيْهِ ، فَهُوَ ضَلَالَةٌ ، وَالِدَيْنُ بَرِيءٌ مِنْهُ ، وَسَوَاءٌ فِي ذَلِكَ مَسَائِلُ الِاعْتِقَادَاتِ ، أَوِ الْأَعْمَالُ ، أَوِ الْأَقْوَالُ الظَّاهِرَةُ وَالْبَاطِنَةُ

คำพูดนบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมที่ว่า (ทุกบิดอะฮคือการหลงผิด) เป็นส่วนหนึ่งจาก ญะวามิอิลกาลาม(หมายถึงคำพูดสั้นๆแต่มีความหมายครอบคลุม) ไม่มีสิ่งใดออกจากมัน และมันคือ รากฐานที่สำคัญ จากบรรดารากฐานของศาสนา และมัน คือ ความคล้ายคลึง กับคำพูดของท่านนบี ที่ว่า (ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใหม่ ในกิจการศาสนาของเรา สิ่งที่ไม่ได้มาจากมัน มันถูกปฏิเสธ ดังนั้น ทุกๆผู้ที่ ประดิษฐสิ่งใดๆขึ้นใหม่ และเขาได้อิงมันกับศาสนา (คืออ้างว่าเป็นศาสนา) และมันไม่มีรากฐาน จากศาสนา ที่กลับไปหามัน มันคือ การหลงผิด และศาสนาไม่เกี่ยวข้องกับมัน ในดังกล่าวนั้น ไม่ว่าจะเป็นบรรดาประเด็นเกี่ยวกับความเชื่อ,บรรดาการกระทำ หรือ บรรดาคำพูด ก็ตามที่เปิดเผย(การแสดงออกทางกายและวาจา)และไม่เปิดเผย(หมายถึงการแสดงออกทางใจ)- ญามิอุลอุลูมวัลฮิกัม 2/128
.....................

สรุป

ใครก็ตามที่ประดิษฐ์สิ่งใหม่ขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นนายตาชั่ง และโต๊ะครูของนายตาชั่ง ก็ตาม แล้วอ้างศาสนา โดยที่สิ่งนั้นไม่มีรากฐานทางศาสนา สิ่งนั้นคือการหลงผิด ไม่ว่า จะเกียวกับความเชื่อ หรือการกระทำ ทาง กาย ทางว่าจา ไม่ว่า การกระทำที่เปิดเผย หรือ การกระทำที่แสดงออกทางใจก็ตาม ผมสาบานว่า ข้างต้นคือความจริง หากไม่จริง ให้ตอบด้วยหลักฐาน ไม่หะลาลให้ตอบด้วยตรรก เพราะผมเสียดายของมีค่าที่ผมนำเสนอ
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม #อ้างอิงจาก Asan Binabdullah 
คือ ที่ท่านอุมัร ใช้คำว่าบิดอะฮ เพราะรูปแบบการละหมาดตารอเวียะ ไม่ปรากฏ ในเวลาก่อนหน้านั้น หมายถึงในยุค เคาะลีฟะฮอบูบักร์ ซึ่งอิบนุอัลอะษีรก็ได้ระบุเช่นกัน
แต่สิ่งนี้ มีหลักฐานที่มาจกสุนนะฮที่นบี ศอ็ลฯได้ส่งเสริมให้ทำ แล้วม
...ดูเพิ่มเติม
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม #อ้างอิงจากบังฮาสัน...
แต่ขอถามบ้าง ให้นายตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรมตอบ และให้ตอบด้วยหลักฐานเท่านั้น
1.การทำอีซีกุโบร์ และทำเมาลิด เป็นสุนนะฮเคาละฟะฮ หรือไม่ (ขอหลักฐาน)
...ดูเพิ่มเติม
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม #หลักฐานการอนุญาติระลึกถึงการเกิดนบีได้จากอาศ้อลของศาสนา.

وما أرسلناك إلا رحمة للعالمين " 


และเราไม่ได้ส่งเขามา นอกจาก เป็นความเมตตาแก่ บรรดาสากลโลก" ซูเราะห์อัลอัมบิยาอฺ 107

ท่านนอิมามมุสลิมได้รายงานจากท่านอบีเกาะตาดะฮ์ว่า 

سئل رسول الله صلى الله عليه وسلم عن صوم يوم الإثنين فقال : ذلك يوم ولدت فيه وأنزل على 

"ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.)ถูกถามจากการถือศีลอดในวันจันทร์ ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.)กล่าวตอบว่า "ดังกล่าวนั้น (เพราะเป็น ) วันที่ฉันเกิด และ(อัลกุรอาน)ถูกประทานลงมายังฉัน" รายงายโดยท่าน มุสลิม

อิบนุฮะญัร อัสกอลานีย์ มัซฮับ ชาฟีอีย์ ศ.๙ ได้ให้ทัศนะว่า การจัดงานเมาลิด เป็นการงานที่ดีงาม ตัวบทฟัตวา รายงานโดย ท่านซายูฏีย์ ดังนี้
وقد سئل شيخ الإسلام حافظ العصر أبو الفضل أحمد بن حجر عن عمل المولد فأجاب بما نصه : أصل عمل المولد بدعة لم تنقل عن أحد من السلف الصالح من القرون الثلاثة ولكنها مع ذلك قد اشتملت على محاسن وضدها ، فمن تحرى في عملها المحاسن وتجنب ضدها كان بدعة حسنة وإلا فلا
“มีผู้ถามเชคุลอิสลาม ผู้เป็นฮาดิศแห่งยุคสมัย อบุลฟัฎล อะฮหมัด บิน ฮะญัร ถึงเรื่อง อามั้ลในการจัดงานเมาลิด ซึ่งเขาได้ตอบคำถาม ด้วยหลักฐาน ว่า หลักของอามั้ลนี้ เป็นบิดอะฮ์ ที่ไม่มีรายงานการ ซาลัฟ ในศตวรรษ์ที่สาม แต่อย่างไรก็ตาม มันครอบคลุมทั้งสิ่งที่ดี และที่ตรงข้ามกัน ดังนั้น หากใคร กระทำในสิ่งที่ดี และหลีกเลี่ยง สิ่งที่ตรงข้าม อามั้ลของเขา คือ บิดอะฮ์ฮาซานะฮ์ หากไม่ใช่เช่นนี้ ก็ไม่ถือเป็นบิดอะฮ์ฮาซานะฮ์”
อ้างอิง
السيوطي، جلال الدين أبو الفضل عبد الرحمن بن أبي بكر (متوفاى911هـ)، الحاوي للفتاوي في الفقه وعلوم التفسير والحديث والاصول والنحو والاعراب وسائر الفنون، ج1، ص 188، تحقيق: عبد اللطيف حسن عبد الرحمن، ناشر: دار الكتب العلمية - بيروت، الطبعة: الأولى، 1421هـ - 2000م.
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม #หลักฐานการเลี้ยงอาหารของญาติผู้ตายแก่แขกผู้มาเยี่ยมเยือน

وعن عاصم بن كليب، عن أبيه، عن رجل من الأنصار، قال: «خرجنا مع رسول الله - صلى الله عليه وسلم - في جنازة، فرأيت رسول الله - صلى الله عليه وسلم - وهو على القبر يوصي الحافر يقول: (أوسع من قبل رجليه
، أوسع من قبل رأسه) فلما رجع استقبله داعي امرأته، فأجاب ونحن معه، فجيء بالطعام، فوضع يده، ثم وضع القوم، فأكلوا
فنظرنا إلى رسول الله صلى الله عليه وسلم يلوك لقمة في فيه ثم قال: ((أجد لحم شاة أخذت بغير إذن أهلها)). فأرسلت المرأة تقول: يا رسول الله: إني أرسلت إلى النقيع- وهو موضع يباع فيه الغنم- ليشتري لي شاة، فلم توجد، فأرسلت إلى جار لي قد اشترى شاة أن يرسل بها إلى بثمنها، فلم يوجد، فأرسلت إلى امرأته، فأرسلت إلي بها. فقال رسول الله صلى الله عليه وسلم: ((أطعمي هذا الطعام الأسرى)). رواه أبو داود، والبيهقي في ((دلائل النبوة)). [٥٩٤٢]

"รายงานจาก อาศิม อิบนุ กุเลบ จากพ่อของเขา จากชายชาวอันซอร ใด้กล่าวว่า : เราใด้ออกไปพร้อมกับท่านรอซูลุ้ลลอฮฺ์(ซล)ยังญานาซะห์หนึ่ง ฉันใด้เห็นท่านรอซูลุ้ลลอฮฺ์(ซล)-ขณะที่ยืนอยู่บนหลุมกุโบร-กำลังสั่งเสียชายผู้ขุดหลุมว่า {เจ้าจงทำให้พื้นที่บริเวณเท้าทั้งสองของเขากว้างขึ้นอีก,จงทำให้พื้นที่บริเวนณมือทั้งสองของเขากว้างขึ้นอีก} ครั้นเมื่อท่านใด้กลับมาจากกุโบร..คนนึงเป็นผู้เรียกร้องเชิญชวนของภรรยาผู้ตายใด้ทำการเชิญชวนต้อนรับท่าน..ดังนั้นท่านจึงตอบรับการเชิญชวนดังกล่าว..ดังนั้นสำรับอาหารก็ถูกนำมา..ท่านจึงยื่นมือ(เพื่อที่จะรับประทาน)..ผู้คนจึงยื่นมือด้วย..แล้วพวกเขาก็รับประทานกัน..ทันใดนั้นฉันก็ใด้มองไปยังท่านรอซูลุ้ลลอฮฺ์(ซล)ที่กำลังเคี้ยวชิ้นเนื้ออยู่ในปากของท่าน..หลังจากนั้นท่านกล่าวว่า {ฉันเจอเนื้อแพะที่ถูกเอามาโดยไม่ใด้รับอนุยาติจากเจ้าของของมัน}…ดังนั้นผู้หญิงเจ้าภรรยาผู้ตายก็ใด้ส่งคำพูดมาว่า..{โอ้ท่านรอซูลุ้ลลอฮฺ์..แท้จริงแล้วฉันใด้ส่งคนไปยังตลาตนาเกี้ยะอฺ์-ตลาตขายแพะ-เพื่อที่จะซื้อแพะมาสักตัวนึง..แต่ปรากฏว่าไม่มีแพะ..ฉันจึงส่งคนไปยังเพื่อนบ้านของฉันที่เขาใด้ซึ้อแพะมาก่อนหน้านี้แล้วเพื่อที่เขาจะส่งมอบแพะให้แก่ฉันโดยการแลกเปลี่ยนเงินตามราคาที่เขาใด้ซื้อมันมา..แต่ก็ไม่เจอเขาอีก..ฉันจึงส่งคนไปยังภรรยาของเขาแล้วเธอก็ใด้ส่งมอบแพะตัวนั้นแก่ฉัน(โดยการซื้อขายและสามีของเธอยังไม่รู้)..}...ดังนั้นท่านรอซูลุ้ลลอฮฺ์(ซล)จึงกล่าวขึ้นว่า..{จงนำสิ่งนี้ไปเลี้ยงแจกจ่ายแก่ยรรดาเชลยศึกเถิด}…
[รายงานโดย อบูดาวูด , บัยฮะกีย์ ใน"ดาละอิลุ้ลลนุบูว่ะหฺ์"]…ท่านอัลบานีย์ใด้กล่าสว่า ฮาดีษนี้ซอเฮี้ยะห์ และท่านอิบนุฮะญัรใด้กล่าวว่า สายรายงานของฮาดีษนี้ซอเฮี้ยะห์..
________________

ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลฮัยตะมีย์ กล่าวต่อว่า 

نعم ان فعل لأهل الميت مع العلم بأنهم يطعمون من حضرهم لم يكره 

" แต่ว่า หาก(อาหาร)ที่ถูกทำให้แก่ครอบครัวผู้ตาย พร้อมกับรู้ว่า ครอบครัวมัยยิด จะนำไปเลี้ยงอาหาร แก่ผู้ที่มาหาพวกเขา ก็ถือว่าไม่มักโระฮ์ " 

หนังสือตั๊วะหฺ ฟะตุลมั๊วะหฺตาจญฺ เล่ม 3 หน้า 207 - 208
ดูคำแปล
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม ต้องเข้าใจก่อนนะครับประเด็นที่ผมตอบคำถามนั้น เป็นเพียงแค่ที่จะบอกว่า การทำเมาลิดและการทำบุญสามวันเจ็ดนั้น เป็นเพียงชื่อเรียกทางภาษาเท่านั้น และมันก้อมีอาศ้อลจากซารีอัตทั้งสิ้น โดยรูปแบบการกระทำนั้นเป็นสิ่งใหม่ ที่เรียกว่าบิดอะห์ฮาสานะห์..

ประเด็นเราจะสนทนา คือเรื่องบิดอะห์เช่นเดิม #ขอให้บังฮาสันอย่าแย้ง ตัวอย่างข้างต้นที่เป็นบิดอะห์ฮาสานะห์
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม #เรามาต่อกันครับ 

อุลามะทุกยุคสมัยต่างก้อแบ่งบิดอะห์ออกเป็นสองประเภท คือ บิดอะห์ที่ดี และบิดอะห์ที่เลว...


และอุลามะได้ยึดการแบ่งบิดอะห์ออกเป็นสองประเภทนั้น ก้อเอามาวางไว้บนหลักซารีอัตทั้งห้า.. #ดั่งหลักฐานต่อไปนี้...

1.#ท่านอีหม่ามซาฟีอีย์ ร.ฮ.

1-وروى البيهقي بإسناده في مناقب الشافعي عن الشافعي رضي الله عنه قال : المحدثات من الأمور ضربان، أحدهما ما أُحدث مما يخالف كتابا أو سنة أو أثرا أو اجماعا فهذه البدعة الضلالة، والثانية ما أحدث من الخير لا خلاف فيه لواحد من العلماء وهذه محدثة غير مذمومة، وقد قال عمر رضي الله عنة في قيام شهر رمضان: نعمتُ البدعة هذه، يعني أنها محدثة لم تكن".
هذا آخر كلام الشافعي رضي الله عنه 

และได้รายงานจากท่านบัยฮากีย์ด้วยสายรายงานของเขา ในตำรามะนากิบอัชชาฟีอีย์ จากท่านอีหม่ามซาฟีอีย์ ร.ฎ. ได้กล่าวว่า สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาใหม่นั้น มี 2 ประเภท

(1) สิ่งที่ถูกทำขึ้นมาใหม่ ที่ขัดแย้งกับอัลกุรอาน ซุนนะฮ์ คำพูดที่ถูกรายงานมา และอิจญฺมาอ์ สิ่งนี้ย่อมเป็นบิดอะฮ์ที่ลุ่มหลง

(2) สิ่งที่ถูกทำขึ้นมาใหม่จากคุณงามความดี ที่ไม่ขัดกับอันหนึ่งอันใด(ที่กล่าวมาแล้ว)นี้ และนี้ย่อมเป็นสิ่งที่ถูกทำขึ้นมาใหม่โดยไม่ถูกตำหนิ

และแท้จริงท่านอุมัรได้กล่าว เกี่ยวกับ(การรวม)ละหมาดตะรอวิหฺ ว่า
نعمت البدعة هذه

"เป็นบิดอะฮ์ที่ดี คือ(ตะรอวิหฺ) อันนี้"

หมายความว่า"การ(รวมตัว)ละหมาดตะรอวิหฺ(20 ร่อกะอัต)ในคืนร่อมาฏอนนี้ คือสิ่งที่ทำขึ้นมาใหม่โดยที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน และเมื่อมีการกระทำขึ้นมาแล้ว ก็ไม่เป็นการขัดต่อสิ่งที่กล่าวมา " และสายรายงานนี้ ซอเฮี๊ยะห์ ดู หนังสือ มะนากิบ อัช-ชาฟิอีย์ เล่ม1 หน้า 468 - 469...
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม 2.#อีหม่ามฆอซาลีย์ ร.ฮ.

2- قال أبو حامد الغزالي في كتابه إحياء علوم الدين، كتاب ءاداب الأكل ج2/3 ما نصه: "وما يقال إنه أبدع بعد رسول الله صلى الله عليه وسلم فليس كل ما أبدع منهيا بل المنهي بدعة تضاد سنة ثابتة وترفع أمرا من الشرع مع بقاء علته بل الإبدا
ع قد يجب في بعض الأحوال إذا تغيرت الأسباب" اهـ

หุจญฺตุลอิสลาม อิมาม อัลฆ่อซาลีย์ (505 ฮ.ศ.)กล่าวว่า "บิดอะฮ์มี 2 ประเภท คือบิดอะฮ์ที่ถูกตำหนิ หมายถึง บิดอะฮ์ที่ขัดแย้งกับซุนนะฮ์เดิม และเกือบจะนำไปสู่การเปลื่ยนแปลงซุนนะฮ์ และ(2)บิดอะฮ์หะสะนะฮ์(บิดอะฮ์ที่ดี) คือสิ่งที่เกิดขึ้นมาใหม่โดยมีตัวอย่างมาแล้ว"

ท่านอิมาม อัลฆอซาลีย์ ได้กล่าวอีกเช่นกันว่า " สิ่งที่ถูกกล่าวว่า มันคือสิ่งที่ถูกทำขึ้นหลังจากร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.)นั้น ดังนั้นไม่ใช่ทุกๆ สิ่ง(ที่เกิดขึ้นมาใหม่) จะเป็นสิ่งต้องห้าม แต่สิ่งที่ต้องห้ามนั้น คือ บิดอะฮ์ที่ขัดแย้งหรือค้านกับซุนนะฮ์ที่ได้รับการยืนยันไว้แล้ว "เหตุผลของมันถูกยกให้เป็นคำสั่งที่มาจากหลักการศาสนาพร้อมกับได้รับการยืนยันไว้แล้วในปีที่บิดอะห์เกิดขึ้น แต่ว่าบิดอะห์ต่างๆนั้นบางทีจำเป็นในบางส่วนของสถานการณ์เมื่อสาเหตุต่างๆได้รับการเปลี่ยนแปลง (ดู หนังสือ เอี๊ยะหฺยาอ์ อุลูมิดดีน เล่ม 1 หน้า 276)

3.#อีหม่ามอับดิลสลาม ร.ฮ.

3- قال العز بن عبد السلام في كتابه "قواعد الأحكام" (ج2/172-174) : البدعة منقسمة إلى واجبة ومحرّمة ومندوبة ومكروهة ومباحة ثم قال: والطريق في ذلك أن تُعرض البدعة على قواعد الشريعة، فإن دخلت في قواعد الإيجاب فهي واجبة، أو في قواعد التحريم فهي محرمة، أو الندب فمندوبة، أو المكروه فمكروهة، أو المباح فمباحة، انتهى.

อิมาม อัลอิซฺซุดดีน บิน อับดุสลาม เสียชีวิตปี 660 ฮ.ศ. กล่าวว่า "บิดอะฮ์คือสิ่งที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนในยุคสมัยของท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) และมันก็ถูกแบ่งออกเป็น บิดอะฮ์วายิบ บิดอะฮ์หะรอม บิดอะฮ์สุนัต บิดอะฮ์มักโระฮ์ และบิดอะฮ์มุบาห์"

และวิถีทางที่จะทราบถึงสิ่งดังกล่าวก็คือ การนำเอาบิดอะฮ์ไปวางไว้บนหลักเกนฑ์ต่าง ๆ ของชาริอะฮ์ (เกาะวาอิดอัชชะรีอะฮ์) เพราะถ้าหากบิดอะฮ์ได้เข้าไปอยู่ในหลักการต่าง ๆ ที่เป็นวายิบ มันก็เป็นบิดอะฮ์วายิบ และหากมันเข้าไปอยู่ในหลักการที่หะรอม ก็เป็นบิดอะฮ์หะรอม และหากมันเข้าไปอยู่ในหลักการต่าง ๆ ที่สุนัต ก็เป็นบิดอะฮ์ที่สุนัต และถ้าหากมันเข้าไปอยู่ในหลักการที่มักโระฮ์ ก็เป็นบิดอะฮ์มักโระฮ์ และถ้าหากมันเข้าไปอยู่ในหลัการที่มุบาห์ ก็เป็นบิดอะฮ์มะบาห์..
ดูคำแปล
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม 4.#อีหม่ามอันนาวาวีย์ ร.ฮ.

شرحه على صحيح مسلم": قوله صَلَّى اللهُ عَلَيهِ وَسَلَّمَ: (وَكُلُّ بِدْعَةٍ ضَلاَلَةٌ) هذا عامٌّ مخصوص، والمراد: غالب البدع.


قال أهل اللُّغة: هي كلّ شيء عمل عَلَى غير مثال سابق. 

قال العلماء: البدعة خمسة أقسام: واجبة، ومندوبة، ومحرَّمة، ومكروهة، ومباحة. فمن الواجبة: نظم أدلَّة المتكلّمين للرَّدّ عَلَى الملاحدة والمبتدعين وشبه ذلك. ومن المندوبة: تصنيف كتب العلم وبناء المدارس والرّبط وغير ذلك. ومن المباح: التّبسط في ألوان الأطعمة وغير ذلك. والحرام والمكروه ظاهران، وقد أوضحت المسألة بأدلَّتها المبسوطة في (تـهذيب الأسماء واللُّغات) فإذا عرف ما ذكرته علم أنَّ الحديث من العامّ المخصوص، وكذا ما أشبهه من الأحاديث الواردة،

ويؤيّد ما قلناه قول عمر بن الخطَّاب رَضِيَ اللهُ عَنْهُ في التّـَراويح: نعمت البدعة، ولا يمنع من كون الحديث عامًّا مخصوصًا قوله: (كُلُّ بِدْعَةٍ) مؤكّدًا بـــــــ كلّ، بل يدخله التَّخصيص مع ذلك كقوله تعالى: {تُدَمّرُ كُلَّ شَىءٍ} [الأحقاف،ءاية 25]اهـ

ท่านอัล-หาฟิซฺ อิมาม อันนะวะวีย์ (ร.ฏ.) กล่าวว่า " คำกล่าวของท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) ที่ว่า ( كل بدعة ضلالة ) " ทุกบิดอะฮ์นั้น ลุ่มหลง" นั้น คืออยู่ในความหมายของ คำคลุมที่ถูกเจาะจง (คือถ้อยคำที่มีความหมายที่ครอบคลุมแต่ถูกเจาะจงหรือทอนความหมายด้วยหะดิษอื่น) จุดประสงค์ของท่านนบี(ซ.ล.) ก็คือ บิดอะฮ์ส่วนมากนั้นลุ่มหลง ในลักษณะจุดมุ่งหมายจากคำกล่าวของท่านนบี(ซ.ล.)ก็คือ ส่วนมากของบิดอะฮ์(นั้นลุ่มหลง)

อุลามะทางด้านภาษากล่าวว่า บิดอะห์คือทุกๆสิ่งที่เป็นการกระทำโดยไม่มีตัวอย่างมาก่อน

บรรดาอุลามาอ์กล่าวว่า บิดอะฮ์ มี 5 ประเภท คือ บิดอะฮ์วายิบ สุนัต หะรอม มักโระฮ์ และมุบาห์ ( ดังนั้น ส่วนหนึ่งจากบิดอะฮ์ที่วายิบ อาธิเช่น การประพันธ์หนังสือเกี่ยวกับหลักฐานต่าง ๆ ของอุลามาอ์กะลาม เพื่อทำการโต้ตอบ พวกนอกศาสนา พวกบิดอะฮ์ และอื่น ๆ และสำหรับบิดอะฮ์สุนัต คือ การประพันธ์หนังสือในเชิงวิชาการ การสร้างสถานที่ศึกษา สร้างสถานที่พักพึง และอื่น ๆ จากที่กล่าวมา และส่วนหนึ่งจากบิดอะฮ์มุบาห์ คือ การมีความหลากหลายในประเภทต่าง ๆ ของการทำอาหาร และอื่น ๆ และบิดอะฮ์หะรอมและมักโระฮ์นั้น ทั้งสองย่อมมีความชัดเจนแล้ว และฉัน(คืออิมามอันนะวะวีย์)ได้อธิบายประเด็นนี้ ด้วยบรรดาหลักฐานที่ถูกแจกแจงไว้แล้วในหนังสือ ตะฮ์ซีบ อัลอัสมาอ์ วัลลุฆ๊อต ดังนั้น เมื่อสิ่งที่ฉันได้กล่าวไปแล้วนั้น เป็นที่ทราบดีแล้ว ก็จะสามารถรู้ได้ว่า แท้จริง หะดิษ(นี้) มาจากความหมายของคำคลุมที่ถูกเจาะจง และเช่นเดียวกันกับบรรดาหะดิษต่างๆที่มีหลักการเหมือนกับหะดิษนี้ 

และได้ทำการสนับสนุนกับสิ่งที่เราได้กล่าวมาแล้ว โดยคำกล่าวของท่านอุมัร(ร.ฏ.) เกี่ยวกับละหมาดตะรอวิหฺ ที่ว่า

نعمت البدعة هذه

"เป็นบิดอะฮ์ที่ดี คือ(ตะรอวิหฺ) อันนี้" 

และการที่หะดิษมีความหมายที่ครอบคลุมที่ต้องถูกเจาะจง (คือถ้อยคำที่มีความหมายที่ครอบคลุมแต่ถูกเจาะจงหรือทอนความหมาย)นั้น ก็จะไม่ไปห้ามกับคำกล่าวของร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) ที่ว่า ( كل بدعة ) "ทุกบิดอะฮ์" โดยตอกย้ำด้วยคำว่า ( كل ) "ทุกๆ" แต่จะต้องทำการเจาะจงหรือทอนความหมายของคำว่า ( كل ) "ทุกๆ" นี้ด้วย กล่าวคือ ( ความหมายที่ครอบคลุมนี้คือ "ทุกบิดอะฮ์นั้นลุ่มหลง" โดยทำการเจาะจงหรือทอนความหมายด้วยหะดิษอื่น จึงได้ความว่า มีบิดอะฮ์อื่นที่ไม่ได้อยู่ในความหมายของบิดอะฮ์ที่ลุ่มหลง ซึ่งเหมือนกับคำตรัสของอัลเลาะฮ์ ที่ว่า ( تدمر كل شيء ) " มันเป็นลมที่จะทำลายทุกๆสิ่ง" (นอกบ้านเรือนของพวกเขาเป็นต้น) (ดู ชัรหฺ ซ่อเฮี๊ยะหฺ มุสลิม ของอิมาม อันนะวะวีย์ เล่ม 3 หน้า 423
ดูคำแปล
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม 🔟 ลงมติเอกฉันท์ "اتفاق" บันดา"อูลามะ" ว่าบิดอะ แบ่งออกเป็น ฮาสานะ(ดี) และ ซัยยีอะ(เลว) ยกเว้น อีมาม อัซซาตีบี. 

♡ หลักฐาน คือ ♡
...ดูเพิ่มเติม
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม #สรุปคือ เรื่องบิดอะห์ การแบ่งบิดอะห์ออกเป็นสองประเภทนั้นคืออิจมะอุลามะ. #ฉะนั้น ฮารอมสำหรับทุกท่านที่จะฝืนอิจมะ.....

#คำถาม

1.หากบังฮาสันอ้างว่า บิดอะห์ทางภาษาคือบิดอะห์ดุนยา. ขอถามว่า รูปแบบการละหมาดตารอแวฮสมัยท่านอุมัรคือเรื่องดุนยาใช่หรือไม่.
2.มีอุลามะคนไหนบ้างนิยาม สุนนะห์ในด้านอิสตีลาฮ นอกจาก การพูด การกระทำ การยอมรับ ของท่านนบี.. มีการเพิ่มสุนนะห์คอลีฟะห์ด้วย. #เรียนเชิญครับ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น