Asan Binabdullah ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม ตอนนี้ผมยังไม่ว่าง. แต่จะสรุปทรรศนะของท่านอิบนุอาซีรให้ผู้ติดตามเข้าใจ เพื่อจะได้ไม่หลงวาทกรรมของวะหบี...
สรุปคือ ท่านอุมัรคือคนที่ยอมรับว่ามีบิดอะห์ฮาสานะห์ และแก่นแท้ของบิดอะ์ฮาสานะห์คือสุนนะห์ เพราะว่านบียอมรับท่านอุมัร ซึ่งทุกๆสิ่งใหม่คือบิดอะห์นั้นคือสิ่งทขัดแย้งกับซารีอัตอัลลอฮและสุนนะห์นบีเท่านั้น
@@@@
ข้างต้นคือการบิดเบือน คำสอนนบี เพราะสิ่งที่นบีรับรองไม่ใช่บิดอะฮ แต่เป็นสุนนะฮ และจะเอาการกระทำของอุมัร มาเป็นหลักฐานมาสร้างบิดอะฮหากินกับตนตายหรือแสดวงหาผลประโยชน์จากคนญะเฮลไม่ได้
ดังหะดิษ
ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัมเองที่กล่าวว่า ..
مَنْ يَعِشْ مِنْكُمْ فَسَيَرَى اخْتِلاَفاً كَثِيْرًا فعَلَيْكُمْ بِسُنَّتِىْ وَسُنَّةِ الْخُلَفَاءِ الرَّاشِدِيْنَ الْمَهْدِيِّيْنَ مِنْ بَعْدِىْ عَضُّوْا عَلَيْهَا بِالنَّوَاجِذِ ....
“พวกท่านคนใดที่ยังมีชีวิตอยู่ ต่อไปเขาก็จะได้เห็นความขัดแย้งเกิดขึ้นอย่างมากมาย ดังนั้น หน้าที่ของพวกท่านก็คือ การปฏิบัติตามซุนนะฮ์ของฉัน, และซุนนะฮ์ของคอลีฟะฮ์ผู้ปราดเปรื่องและทรงคุณธรรมหลังจากฉัน, จงกัดมัน (ซุนนะฮ์ของฉันและซุนนะฮ์ของคอลีฟะฮ์ของฉัน) ให้แน่นด้วยฟันกราม ..... ”
..................................
พวกท่านทำบิดอะฮ โดยจะเรียกให้สวยหรูอย่างไรก็ทำไป ไม่มีใครไปห้ามพวกท่านได้ แต่...อย่าเอาเคาะลิฟะฮอุมัร ผู้ทรงธรรม ไปอ้างทำบิดอะฮ เพราะนั้นคือ การหยามเกียรติของท่านอุมัร
อิบนุตัยมียะฮ (ร.ฮ)กล่าวว่า
فأما صلاة التراويح فليست بدعة في الشريعة بل هي سنة بقول رسول الله صلى الله عليه وسلم وفعله فانه قال إن الله فرض عليكم صيام رمضان وسننت لكم قيامه
ولا صلاتها جماعة بدعة بل هي سنة في الشريعة بل قد صلاها رسول الله صلى الله عليه وسلم في الجماعة في أول شهر رمضان ......
สำหรับ การละหมาดตะรอเวียะนั้น มันไม่ใช่บิดอะฮ ในศาสนาบัญญัติ แต่ในทางกลับกัน มันคือสุนนะฮ ด้วยคำพูดของรซูลุลลอฮ ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และการกระทำของท่าน เพราะแท้จริง ท่านนบีกล่าวว่า “
إِنَّ اللَّهَ فَرَضَ صِيَامَ رَمَضَانَ عَلَيْكُمْ، وَسَنَنْتُ لَكُمْ قِيَامَهُ
แท้จริงอัลลอฮได้กำหนดการถือศีลอด ให้เป็นข้อบังคับแก่พวกท่าน และฉันได้ให้การลุกขึ้นละหมาดกิยามุเราะมะฎอน เป็นสุนัตแก่พวกท่าน .....และการละหมาดมัน(ตะรอเวียะ) เป็นญะมาอะฮนั้น ไม่ใช่บิดอะฮ แต่ทว่า มันคือสุนนะฮ ในศาสนบัญญัติ ยิ่งไปกว่านั้น ท่านของรซูลุลลอฮ ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้เคยละหมาดมันในรูปแบบญะมาอะฮ..ในช่วงแรกของเดือนเราะมะฏอน..... – ดู - อิกติดออุซศิรอฏิลมุสตะกีม หน้าที่ เล่ม 2 หน้า 588-589
สรุปคือ ท่านอุมัรคือคนที่ยอมรับว่ามีบิดอะห์ฮาสานะห์ และแก่นแท้ของบิดอะ์ฮาสานะห์คือสุนนะห์ เพราะว่านบียอมรับท่านอุมัร ซึ่งทุกๆสิ่งใหม่คือบิดอะห์นั้นคือสิ่งทขัดแย้งกับซารีอัตอัลลอฮและสุนนะห์นบีเท่านั้น
@@@@
ข้างต้นคือการบิดเบือน คำสอนนบี เพราะสิ่งที่นบีรับรองไม่ใช่บิดอะฮ แต่เป็นสุนนะฮ และจะเอาการกระทำของอุมัร มาเป็นหลักฐานมาสร้างบิดอะฮหากินกับตนตายหรือแสดวงหาผลประโยชน์จากคนญะเฮลไม่ได้
ดังหะดิษ
ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัมเองที่กล่าวว่า ..
مَنْ يَعِشْ مِنْكُمْ فَسَيَرَى اخْتِلاَفاً كَثِيْرًا فعَلَيْكُمْ بِسُنَّتِىْ وَسُنَّةِ الْخُلَفَاءِ الرَّاشِدِيْنَ الْمَهْدِيِّيْنَ مِنْ بَعْدِىْ عَضُّوْا عَلَيْهَا بِالنَّوَاجِذِ ....
“พวกท่านคนใดที่ยังมีชีวิตอยู่ ต่อไปเขาก็จะได้เห็นความขัดแย้งเกิดขึ้นอย่างมากมาย ดังนั้น หน้าที่ของพวกท่านก็คือ การปฏิบัติตามซุนนะฮ์ของฉัน, และซุนนะฮ์ของคอลีฟะฮ์ผู้ปราดเปรื่องและทรงคุณธรรมหลังจากฉัน, จงกัดมัน (ซุนนะฮ์ของฉันและซุนนะฮ์ของคอลีฟะฮ์ของฉัน) ให้แน่นด้วยฟันกราม ..... ”
..................................
พวกท่านทำบิดอะฮ โดยจะเรียกให้สวยหรูอย่างไรก็ทำไป ไม่มีใครไปห้ามพวกท่านได้ แต่...อย่าเอาเคาะลิฟะฮอุมัร ผู้ทรงธรรม ไปอ้างทำบิดอะฮ เพราะนั้นคือ การหยามเกียรติของท่านอุมัร
อิบนุตัยมียะฮ (ร.ฮ)กล่าวว่า
فأما صلاة التراويح فليست بدعة في الشريعة بل هي سنة بقول رسول الله صلى الله عليه وسلم وفعله فانه قال إن الله فرض عليكم صيام رمضان وسننت لكم قيامه
ولا صلاتها جماعة بدعة بل هي سنة في الشريعة بل قد صلاها رسول الله صلى الله عليه وسلم في الجماعة في أول شهر رمضان ......
สำหรับ การละหมาดตะรอเวียะนั้น มันไม่ใช่บิดอะฮ ในศาสนาบัญญัติ แต่ในทางกลับกัน มันคือสุนนะฮ ด้วยคำพูดของรซูลุลลอฮ ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และการกระทำของท่าน เพราะแท้จริง ท่านนบีกล่าวว่า “
إِنَّ اللَّهَ فَرَضَ صِيَامَ رَمَضَانَ عَلَيْكُمْ، وَسَنَنْتُ لَكُمْ قِيَامَهُ
แท้จริงอัลลอฮได้กำหนดการถือศีลอด ให้เป็นข้อบังคับแก่พวกท่าน และฉันได้ให้การลุกขึ้นละหมาดกิยามุเราะมะฎอน เป็นสุนัตแก่พวกท่าน .....และการละหมาดมัน(ตะรอเวียะ) เป็นญะมาอะฮนั้น ไม่ใช่บิดอะฮ แต่ทว่า มันคือสุนนะฮ ในศาสนบัญญัติ ยิ่งไปกว่านั้น ท่านของรซูลุลลอฮ ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้เคยละหมาดมันในรูปแบบญะมาอะฮ..ในช่วงแรกของเดือนเราะมะฏอน..... – ดู - อิกติดออุซศิรอฏิลมุสตะกีม หน้าที่ เล่ม 2 หน้า 588-589
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม ดูเหมือนว่าสนทนาไปก้อวกวนอยู่ที่เดิม.... งั้นผมขอสรุปแล้วกัน...
ประเด็นเรื่องบิดอะห์นั้นอุลามะมีนิยามที่แตกต่างกัน...คือ
อุลามะอะหลีลสุนนะห์ทุกคนไม่มีใครหรอกครับ ที่ถือสิ่งที่เกินกว่าซารีอัตอิสลามคือบิดอะห์ฮาสานะห์เพราะท่านนบีได้ห้ามด้วยฮาดิษ การงานศาสนาที่ไม่มีจากท่านนบีมันจะถูกปฏิเสธ... แต่ว่าหาการงานใดที่มีอาซ้อลจากศาสนานั้นมันไม่ใช่บิดอะห์
1.ถือทุกๆอย่างที่เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่มีสมัยท่านนบีคือบิดอะห์ ซึ่งวางอยู่ในหลักซารีอัตทั้งห้า หากสอดคล้องกับซารีอัต มันก้อคือวาญิบและสุนัต. หากไม่มีหลักฐานสั่งหรือห้ามมันก้อคือมุบาฮ. หากขัดแย้งกับซารีอัตมันก้อคือมักโรฮและฮารอม...โดยจะไม่เรียกสิ่งที่เกิดใหม่ว่าเป็นบิดอะห์แต่อย่างใด แต่ให้ถือตามฮุกมทั้งห้า...นอกจากเรียกสิ่งที่ขัดแย้งกับซารีอัตเท่านั้นคือบิดอะห์...
2.สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ทั้งหมดหากสอดคล้องกับหลักซารีอัตจะไม่ใช่บิดอะห์ตามหลักศาสนา. แต่จะเรียกบิดอะห์ตามหลักภาษาเท่านั้น หากสิ่งที่ดีเรียกบิดอะห์ฮาสานะห์ หากสิ่งที่เลวเรียกว่าบิดอะห์ดอลาละห์...
ฉะนั้น ทั้งงานเมาลิดหรือมัจลีซอีซีกุโบร์ หากมันสอดคล้องกับหลักซารีอัตจะเรียกว่า สุนัตหรือมุบาฮก้อได้ จะเรียกว่าบิดอะห์ฮาสานะห์ทางภาษาก้อได้. แล้วแต่อุมัตจะสะดวกเรียก...
์
ประเด็นเรื่องบิดอะห์นั้นอุลามะมีนิยามที่แตกต่างกัน...คือ
อุลามะอะหลีลสุนนะห์ทุกคนไม่มีใครหรอกครับ ที่ถือสิ่งที่เกินกว่าซารีอัตอิสลามคือบิดอะห์ฮาสานะห์เพราะท่านนบีได้ห้ามด้วยฮาดิษ การงานศาสนาที่ไม่มีจากท่านนบีมันจะถูกปฏิเสธ... แต่ว่าหาการงานใดที่มีอาซ้อลจากศาสนานั้นมันไม่ใช่บิดอะห์
1.ถือทุกๆอย่างที่เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่มีสมัยท่านนบีคือบิดอะห์ ซึ่งวางอยู่ในหลักซารีอัตทั้งห้า หากสอดคล้องกับซารีอัต มันก้อคือวาญิบและสุนัต. หากไม่มีหลักฐานสั่งหรือห้ามมันก้อคือมุบาฮ. หากขัดแย้งกับซารีอัตมันก้อคือมักโรฮและฮารอม...โดยจะไม่เรียกสิ่งที่เกิดใหม่ว่าเป็นบิดอะห์แต่อย่างใด แต่ให้ถือตามฮุกมทั้งห้า...นอกจากเรียกสิ่งที่ขัดแย้งกับซารีอัตเท่านั้นคือบิดอะห์...
2.สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ทั้งหมดหากสอดคล้องกับหลักซารีอัตจะไม่ใช่บิดอะห์ตามหลักศาสนา. แต่จะเรียกบิดอะห์ตามหลักภาษาเท่านั้น หากสิ่งที่ดีเรียกบิดอะห์ฮาสานะห์ หากสิ่งที่เลวเรียกว่าบิดอะห์ดอลาละห์...
ฉะนั้น ทั้งงานเมาลิดหรือมัจลีซอีซีกุโบร์ หากมันสอดคล้องกับหลักซารีอัตจะเรียกว่า สุนัตหรือมุบาฮก้อได้ จะเรียกว่าบิดอะห์ฮาสานะห์ทางภาษาก้อได้. แล้วแต่อุมัตจะสะดวกเรียก...
์
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม ส่วนประเด็นทรรศนะอิบนุอาซีร จริงๆผมจะเชิญบังฮาสันร่วมกันเอี้ยะร้อบกัน แต่ดูเหมือนท่านพยายามจะเลี่ยง ผมจึงไม่อยากทำร้ายสุขภาพจิตผู้สูงอายุ แต่ยังไงผู้ติดตามคงรู้อยู่แล้วว่าอะไรเป็นอะไร เพราะมีคนอื่นนำไปวิจารณ์แล้ว..
#เรียนเชิญบังฮาสัน. โต้แย้งทรรศนะบิดอะห์ที่ผมสรุปเลยครับ
#เรียนเชิญบังฮาสัน. โต้แย้งทรรศนะบิดอะห์ที่ผมสรุปเลยครับ
Asan Binabdullah ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม เคยพูดในกระทู้หนึ่งว่า เมื่อเสวนากับผม 90 % ล้มผมได้ แต่มาวันนี้เห็นแล้วว่า ราคาคุย แล้วตั้งกลุ่มดิสเครดิตผม หวังจะทำลาย นี่หรือมุสลิม และ ณ เวลานี้มีแต่ใช้ความเห็นตัวเองและตรรก ไม่ได้ปฏิบัติตามกติกาจริงๆ คือ ไม่มีหลักฐาน สรุปเอง แล้วเอาเรื่องอีซีกุโบร กับเมาลิด มาชง เทียบกับสุนนะฮเคาลิฟะฮ เพราะฉะนั้น สาบานกันทั้งสองฝ่ายแล้ว อัลลอฮจะเป็นผู้ตัดสินในเร็ววัน ขออัลลอฮให้เป็นไปตามที่สาบานด้วยเถิด มาดูชัยคุลอิสลามอิบนุตัยมียะฮกล่าวว่า
وَقَدْ قَالَ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ فِي الْحَدِيثِ الَّذِي رَوَاهُ أَهْلُ السُّنَنِ وَصَحَّحَهُ التِّرْمِذِيُّ وَغَيْرُهُ : { عَلَيْكُمْ بِسُنَّتِي وَسُنَّةِ الْخُلَفَاءِ الرَّاشِدِينَ الْمَهْدِيِّينَ مِنْ بَعْدِي تَمَسَّكُوا بِهَا وَعَضُّوا عَلَيْهَا بِالنَّوَاجِذِ وَإِيَّاكُمْ وَمُحْدَثَاتِ الْأُمُورِ فَإِنَّ كُلَّ بِدْعَةٍ ضَلَالَةٌ } فَمَا سَنَّهُ الْخُلَفَاءُ الرَّاشِدُونَ لَيْسَ بِدْعَةً شَرْعِيَّةً يُنْهَى عَنْهَا وَإِنْ كَانَ يُسَمَّى فِي اللُّغَةِ بِدْعَةً لِكَوْنِهِ اُبْتُدِئَ . كَمَا قَالَ عُمَرُ : نِعْمَت الْبِدْعَةُ هَذِهِ
และแท้จริง ท่านนบี ศอ็ลฯ กล่าวในหะดิษ ที่รายงานโดย อะฮลุสสุนัน และอัตติรมิซีย์ และคนอื่นจากเขา ได้ตัดสินมันว่าเป็นหะดิษเศาะเฮียะ (พวกท่านจงยึดมั่นในสุนนะฮ(แบบอย่าง)ของฉัน และบรรดาเคาะลิฟะฮผู้ชี้ทางที่ถูกต้อง ผู้ได้รับทางนำหลังจากฉัน จงยึดถือมัน และจงกัดกรามต่อมัน(หนักแน่นอดทน) และพึงระวังสิ่งที่ถูกอุตริขึ้นใหม่ในศาสนา และแท้จริงทุกสิ่งอุตริขึนใหม่นั้น เป็นบิดอะฮ และทุกบิดอะฮ นั้น เป็นการหลงผิด") ดังนั้น สิ่งที่บรรดาเคาะลิฟะฮทำแบบอย่างมันเอาไว้ มันไม่ใช่บิดอะฮในทางศาสนบัญญัติ ที่ถูกห้ามจากมัน และแม้ปรากฏว่ามันถูกเรียกในทางภาษาว่า บิดอะฮ เพราะมันถูกริ่เริ่ม ดังสิ่งที่อุมัร ได้กล่าว “นี้คือบิดอะฮที่ดี”- มัจญมัวะฟะตาวา 21/319
وَقَدْ قَالَ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ فِي الْحَدِيثِ الَّذِي رَوَاهُ أَهْلُ السُّنَنِ وَصَحَّحَهُ التِّرْمِذِيُّ وَغَيْرُهُ : { عَلَيْكُمْ بِسُنَّتِي وَسُنَّةِ الْخُلَفَاءِ الرَّاشِدِينَ الْمَهْدِيِّينَ مِنْ بَعْدِي تَمَسَّكُوا بِهَا وَعَضُّوا عَلَيْهَا بِالنَّوَاجِذِ وَإِيَّاكُمْ وَمُحْدَثَاتِ الْأُمُورِ فَإِنَّ كُلَّ بِدْعَةٍ ضَلَالَةٌ } فَمَا سَنَّهُ الْخُلَفَاءُ الرَّاشِدُونَ لَيْسَ بِدْعَةً شَرْعِيَّةً يُنْهَى عَنْهَا وَإِنْ كَانَ يُسَمَّى فِي اللُّغَةِ بِدْعَةً لِكَوْنِهِ اُبْتُدِئَ . كَمَا قَالَ عُمَرُ : نِعْمَت الْبِدْعَةُ هَذِهِ
และแท้จริง ท่านนบี ศอ็ลฯ กล่าวในหะดิษ ที่รายงานโดย อะฮลุสสุนัน และอัตติรมิซีย์ และคนอื่นจากเขา ได้ตัดสินมันว่าเป็นหะดิษเศาะเฮียะ (พวกท่านจงยึดมั่นในสุนนะฮ(แบบอย่าง)ของฉัน และบรรดาเคาะลิฟะฮผู้ชี้ทางที่ถูกต้อง ผู้ได้รับทางนำหลังจากฉัน จงยึดถือมัน และจงกัดกรามต่อมัน(หนักแน่นอดทน) และพึงระวังสิ่งที่ถูกอุตริขึ้นใหม่ในศาสนา และแท้จริงทุกสิ่งอุตริขึนใหม่นั้น เป็นบิดอะฮ และทุกบิดอะฮ นั้น เป็นการหลงผิด") ดังนั้น สิ่งที่บรรดาเคาะลิฟะฮทำแบบอย่างมันเอาไว้ มันไม่ใช่บิดอะฮในทางศาสนบัญญัติ ที่ถูกห้ามจากมัน และแม้ปรากฏว่ามันถูกเรียกในทางภาษาว่า บิดอะฮ เพราะมันถูกริ่เริ่ม ดังสิ่งที่อุมัร ได้กล่าว “นี้คือบิดอะฮที่ดี”- มัจญมัวะฟะตาวา 21/319
Ibnu Sorlaeh ผมขอไม่สรุปนะครับ ให้พี่น้องอ่านและพิจารณาเองว่าใครเป็นผู้สัจจริง
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม Ibnu Sorlaeh จัดการบล้อกตัวป่วนและลบข้อความด้วยครับ.... ถ้าท่านยังมีใจเป็นธรรม ในฐานะกรรมการ
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม มาแล้วครับ ตอนแรกนึกว่าบังฮาสันจะเตาบัตตัวกรณีบิดเบือนประเด็นทรรศนะอิบนุอาซีร ที่ว่า. وهي على الحقيقة سُنَّة
แต่พอผมย้อนไปอ่านคำโต้แย้งของบังฮาสันเกี่ยวกับทรรศนะอิบนุอาซีรใหม่ ก้อพบว่ามีการบิดเบือนอีก ตรงคำว่า. ولما كانت ซึ่งดอมีร هي ที่ตักดีรมา บังฮาสันรอเยาะไปยังละหมาดตารอแวฮเช่นกัน....ซึ่งถือว่าบิดเบือนซ้ำสอง...ี
แต่พอผมย้อนไปอ่านคำโต้แย้งของบังฮาสันเกี่ยวกับทรรศนะอิบนุอาซีรใหม่ ก้อพบว่ามีการบิดเบือนอีก ตรงคำว่า. ولما كانت ซึ่งดอมีร هي ที่ตักดีรมา บังฮาสันรอเยาะไปยังละหมาดตารอแวฮเช่นกัน....ซึ่งถือว่าบิดเบือนซ้ำสอง...ี
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม สังเกตุตรงวงเล็บจากคำแปล บังฮาสันเขียนว่าละหมาดตารอแวฮ.ทั้งที่ประโยคก่อนหน้านั้น ไม่มีอีเซมมุฟรัดที่เป็นมุอันนัสเลย...
ผมขอให้บังฮาสันเตาบัตรอบสองนะครับ. เพราะผมไม่อยากสาปแช่งพี่น้องมุสลิมด้วยกันตายภายในสามวันเจ็ดวัน
ผมขอให้บังฮาสันเตาบัตรอบสองนะครับ. เพราะผมไม่อยากสาปแช่งพี่น้องมุสลิมด้วยกันตายภายในสามวันเจ็ดวัน
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม Ibnu Sorlaeh กรรมการฝากเป็นพยานการเตาบัตตัวรอบสองด้วยนะครับ
Asan Binabdullah ไม่รู้สึกละอายตัวเองบ้างหรือครับนายตาชั่ง
Asan Binabdullah จะเริ่มไหมใช่ไหม วันก่อนยังไม่แปลให้ผม ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม เนื่องจากบังฮาสันได้บอกว่าผมเป็นนักก้อปไม่เข้าใจภาษาอาหรับ และบังฮาสันเขามั่นใจว่าเขาเก่งภาษาอาหรับ. งั้นเรามาพิสูจน์ข้อความอิบนุอาซีรกัน. เรามาปอกเปลือกด้วยกัน.....
1.เริ่มต้นของคำพูดอิบนุอาซีรได้กล่าวถึงอะไร..
2.คำว่า وهي على الحقيقة سنة ขอถามบังAsan Binabdullah ว่า วาว ตรงนี้ เอี้ยะร้อบเป็นอะไร... هي ตรงนี้คือดอเมรอะไร. #เชิญครับ.
........................
ยกมาทำไมไม่แปลครับ แปลไม่เป็นแล้ว ใช้กลยุทธให้คนอื่นแปล แปลให้หมดสิครับนาย ตาชั่ง นี่ที่คุณยกมา
แปลภาษาไทยเลยครับ ตามกติกา.
قال ابن الأثير فى "النهاية فى غريب الحديث"(1/106- 107): وفي حديث عمر رضي اللَه عنه في قيام رمضان: نِعْمَت البِدْعة هذه، البدعة بِدْعَتَان: بدعة هُدًى، وبدعة ضلال، فما كان في خلاف ما أمَر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم فهو في حَيّز الذّم والإنكار، وما كان واقعا تحت عُموم ما نَدب اللّه إليه وحَضَّ عليه اللّه أو رسوله فهو في حيز المدح، وما لم يكن له مثال موجود كنَوْع من الجُود والسخاء وفعْل المعروف فهو من الأفعال المحمودة، ولا يجوز أن يكون ذلك في خلاف ما وَردَ الشرع به؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم قد جَعل له في ذلك ثوابا فقال:" من سَنّ سُنة حسَنة كان له أجْرها وأجرُ من عَمِل بها "، وقال في ضِدّه:" ومن سنّ سُنة سيّئة كان عليه وزْرُها وَوِزْرُ من عَمِل بها"، وذلك إذا كان في خلاف ما أمر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم. ومن هذا النوع قولُ عمر رضي اللّه عنه: نِعْمَت البدعة هذه. لـمـَّــا كانت من أفعال الخير وداخلة في حيز المدح سماها بدعة ومدَحها؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم لم يَسَنَّها لهم، وإنما صلاّها لَياليَ ثم تَركَها ولم يحافظ عليها، ولا جَمع الناسَ لها، ولا كانت في زمن أبي بكر، وإنما عمر رضي اللّه عنه جمع الناس عليها ونَدَبـهم إليها، فبهذا سمّاها بدعة، وهي على الحقيقة سُنَّة، لقوله صلى اللّه عليه وسلم: عليكم بسُنَّتي وسنَّة الخلفاء الراشِدين من بعْدي، وقوله: اقتدُوا باللذين من بعدي أبي بكر وعمر، وعَلَى هذا التأويل يُحمل الحديث الآخر: كل مُحْدَثة بدعةٌ، إنما يريد ما خالف أصول الشريعة ولم يوافق السُّنَّة.اهـ
ถูกใจ · ตอบกลับ · 4 · 22 ชม.
1.เริ่มต้นของคำพูดอิบนุอาซีรได้กล่าวถึงอะไร..
2.คำว่า وهي على الحقيقة سنة ขอถามบังAsan Binabdullah ว่า วาว ตรงนี้ เอี้ยะร้อบเป็นอะไร... هي ตรงนี้คือดอเมรอะไร. #เชิญครับ.
........................
ยกมาทำไมไม่แปลครับ แปลไม่เป็นแล้ว ใช้กลยุทธให้คนอื่นแปล แปลให้หมดสิครับนาย ตาชั่ง นี่ที่คุณยกมา
แปลภาษาไทยเลยครับ ตามกติกา.
قال ابن الأثير فى "النهاية فى غريب الحديث"(1/106- 107): وفي حديث عمر رضي اللَه عنه في قيام رمضان: نِعْمَت البِدْعة هذه، البدعة بِدْعَتَان: بدعة هُدًى، وبدعة ضلال، فما كان في خلاف ما أمَر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم فهو في حَيّز الذّم والإنكار، وما كان واقعا تحت عُموم ما نَدب اللّه إليه وحَضَّ عليه اللّه أو رسوله فهو في حيز المدح، وما لم يكن له مثال موجود كنَوْع من الجُود والسخاء وفعْل المعروف فهو من الأفعال المحمودة، ولا يجوز أن يكون ذلك في خلاف ما وَردَ الشرع به؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم قد جَعل له في ذلك ثوابا فقال:" من سَنّ سُنة حسَنة كان له أجْرها وأجرُ من عَمِل بها "، وقال في ضِدّه:" ومن سنّ سُنة سيّئة كان عليه وزْرُها وَوِزْرُ من عَمِل بها"، وذلك إذا كان في خلاف ما أمر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم. ومن هذا النوع قولُ عمر رضي اللّه عنه: نِعْمَت البدعة هذه. لـمـَّــا كانت من أفعال الخير وداخلة في حيز المدح سماها بدعة ومدَحها؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم لم يَسَنَّها لهم، وإنما صلاّها لَياليَ ثم تَركَها ولم يحافظ عليها، ولا جَمع الناسَ لها، ولا كانت في زمن أبي بكر، وإنما عمر رضي اللّه عنه جمع الناس عليها ونَدَبـهم إليها، فبهذا سمّاها بدعة، وهي على الحقيقة سُنَّة، لقوله صلى اللّه عليه وسلم: عليكم بسُنَّتي وسنَّة الخلفاء الراشِدين من بعْدي، وقوله: اقتدُوا باللذين من بعدي أبي بكر وعمر، وعَلَى هذا التأويل يُحمل الحديث الآخر: كل مُحْدَثة بدعةٌ، إنما يريد ما خالف أصول الشريعة ولم يوافق السُّنَّة.اهـ
ถูกใจ · ตอบกลับ · 4 · 22 ชม.
Asan Binabdullah ถ้าเริ่มใหม่ นึกว่า จะฝากความหวังไว้กับทัศนะอิบนุอัลอะษีร แปลนี้ให้ผมก่อน ดูซิว่า อะไรโผล่มา
Asan Binabdullah และนี่อีกชิ้นโบว์ดำ ในฐานะหัวหน้าทีมฟิตนะฮผม จงเอาสำเนาหนังสือมาแสดง ว่าข้างบนจริงหรือเท็จ
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม บังฮาสันสังเกตุนะครับ เวลาจะรอเยาะดอมีรนั้น เขาพิจารณากาลีมะห์ที่เหมือนกัน เช่นมุซักกัร กับมุซัรกัร และเวลารอเยาะจะดูกาลีเมาะห์ที่ใกล้ที่สุดก่อนว่าเข้าประโยคหรือไม่
Asan Binabdullah หามาแสดงหรือยังฮัมดี ว่าคนในวอร์รูม ไปประดิษฐอะไรไว้ ถ้าอยู่บนความจริง เอาสำเนาหนังสือที่อ้างแบบนี้หน่อย ว่า บิดอะฮหะสะนะฮอยู่หน้าใหนแน่
Asan Binabdullah สองอย่าง ที่ต้องทำคือ แปลหลักฐานให้ผมที่ตนเองอ้าง 2. ประดิษฐกรรมของที่มงานเอามาจากหน้าใหนของ อัลนิฮายะฮ ไม่อย่างนั้นผมไม่เสียเวลากับกุ้ยกลางถนนแบบเองหรอก สัญญาจะคุยวิชาการใช้วิชาสาละเลวคิดจะทำลายคู่เสวนา
ตาชั่ง พิทักษ์ความยุติธรรม ส่วนอันนี้ ดอมีรมุอันนัส. กาลีเมาะห์มุอันนัสที่อยู่ใกล้ ก้อมีให้รอเยาะเพื่อให้เข้าประโยค. แต่บังฮาสันไปรอเยาะที่ละหมาดตารอแวฮ. มิทราบว่ากาลีมะห์นี้อยู่ไหน. #ไหนว่ามาสิ..
Asan Binabdullah แปลมาให้หมด ฮัมดี สุหลง แปลภาษาไทยเลยครับ ตามกติกา.
قال ابن الأثير فى "النهاية فى غريب الحديث"(1/106- 107): وفي حديث عمر رضي اللَه عنه في قيام رمضان: نِعْمَت البِدْعة هذه، البدعة بِدْعَتَان: بدعة هُدًى، وبدعة ضلال، فما كان في خلاف ما أمَر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم فهو في حَيّز الذّم والإنكار، وما كان واقعا تحت عُموم ما نَدب اللّه إليه وحَضَّ عليه اللّه أو رسوله فهو في حيز المدح، وما لم يكن له مثال موجود كنَوْع من الجُود والسخاء وفعْل المعروف فهو من الأفعال المحمودة، ولا يجوز أن يكون ذلك في خلاف ما وَردَ الشرع به؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم قد جَعل له في ذلك ثوابا فقال:" من سَنّ سُنة حسَنة كان له أجْرها وأجرُ من عَمِل بها "، وقال في ضِدّه:" ومن سنّ سُنة سيّئة كان عليه وزْرُها وَوِزْرُ من عَمِل بها"، وذلك إذا كان في خلاف ما أمر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم. ومن هذا النوع قولُ عمر رضي اللّه عنه: نِعْمَت البدعة هذه. لـمـَّــا كانت من أفعال الخير وداخلة في حيز المدح سماها بدعة ومدَحها؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم لم يَسَنَّها لهم، وإنما صلاّها لَياليَ ثم تَركَها ولم يحافظ عليها، ولا جَمع الناسَ لها، ولا كانت في زمن أبي بكر، وإنما عمر رضي اللّه عنه جمع الناس عليها ونَدَبـهم إليها، فبهذا سمّاها بدعة، وهي على الحقيقة سُنَّة، لقوله صلى اللّه عليه وسلم: عليكم بسُنَّتي وسنَّة الخلفاء الراشِدين من بعْدي، وقوله: اقتدُوا باللذين من بعدي أبي بكر وعمر، وعَلَى هذا التأويل يُحمل الحديث الآخر: كل مُحْدَثة بدعةٌ، إنما يريد ما خالف أصول الشريعة ولم يوافق السُّنَّة.اهـ
ถูกใจ · ตอบกลับ · 4 · 22 ชม.ดูคำแปล
قال ابن الأثير فى "النهاية فى غريب الحديث"(1/106- 107): وفي حديث عمر رضي اللَه عنه في قيام رمضان: نِعْمَت البِدْعة هذه، البدعة بِدْعَتَان: بدعة هُدًى، وبدعة ضلال، فما كان في خلاف ما أمَر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم فهو في حَيّز الذّم والإنكار، وما كان واقعا تحت عُموم ما نَدب اللّه إليه وحَضَّ عليه اللّه أو رسوله فهو في حيز المدح، وما لم يكن له مثال موجود كنَوْع من الجُود والسخاء وفعْل المعروف فهو من الأفعال المحمودة، ولا يجوز أن يكون ذلك في خلاف ما وَردَ الشرع به؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم قد جَعل له في ذلك ثوابا فقال:" من سَنّ سُنة حسَنة كان له أجْرها وأجرُ من عَمِل بها "، وقال في ضِدّه:" ومن سنّ سُنة سيّئة كان عليه وزْرُها وَوِزْرُ من عَمِل بها"، وذلك إذا كان في خلاف ما أمر اللّه به ورسوله صلى اللّه عليه وسلم. ومن هذا النوع قولُ عمر رضي اللّه عنه: نِعْمَت البدعة هذه. لـمـَّــا كانت من أفعال الخير وداخلة في حيز المدح سماها بدعة ومدَحها؛ لأن النبي صلى اللّه عليه وسلم لم يَسَنَّها لهم، وإنما صلاّها لَياليَ ثم تَركَها ولم يحافظ عليها، ولا جَمع الناسَ لها، ولا كانت في زمن أبي بكر، وإنما عمر رضي اللّه عنه جمع الناس عليها ونَدَبـهم إليها، فبهذا سمّاها بدعة، وهي على الحقيقة سُنَّة، لقوله صلى اللّه عليه وسلم: عليكم بسُنَّتي وسنَّة الخلفاء الراشِدين من بعْدي، وقوله: اقتدُوا باللذين من بعدي أبي بكر وعمر، وعَلَى هذا التأويل يُحمل الحديث الآخر: كل مُحْدَثة بدعةٌ، إنما يريد ما خالف أصول الشريعة ولم يوافق السُّنَّة.اهـ
ถูกใจ · ตอบกลับ · 4 · 22 ชม.ดูคำแปล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น