คำถามจาก FuSe Desu
ช่วยตรวจสอบหน่อยคับว่านี่คือหลักฐานที่สนับสนุนให้จับมือสล่ามหลังละหมาดรึป่าว
. والقائلون بالاستحباب بما رواه البخـاري في صحيحه عن أَبي جُحَيْفَةَ رضي الله عنـه قَـالَ : " خَرَجَ رَسُولُ اللَّهِ صلى الله عليه وآله وسلم بِالْهَاجِرَةِ إِلَى الْبَطْحَاءِ ، فَتَوَضَّأَ ، ثُمَّ صَلَّى الظُّهْرَ رَكْعَتَيْنِ وَالْعَصْرَ رَكْعَتَيْنِ وَبَيْنَ يَدَيْهِ عَنَزَةٌ ، وَقَـامَ النَّاسُ فَجَعَلُوا يَأْخُذُونَ يَدَيْهِ فَيَمْسَحُونَ بِهَا وُجُوهَهُمْ " قَـالَ أبـو جحيفة : " فَأَخَذْتُ بِيَدِهِ فَوَضَعْتُهَا عَلَى وَجْهِي ، فَإِذَا هِيَ أَبْرَدُ مِنَ الثَّلْجِ وَأَطْيَبُ رَائِحَةً مِنَ الْمِسْكِ "
คำตอบจาก Ah-lulquran Was-sunnah
#มาดูคำแปลก่อน ท่านอัลบุคอรีย์ จากท่านอบีญุฮัยฟะฮ์ ร่อฏิยัลลอฮุอันฮุ ซึ่งเขากล่าวว่า
خَرَجَ رَسُولُ اللَّهِ صلى الله عليه وآله وسلم بِالْهَاجِرَةِ إِلَى الْبَطْحَاءِ ، فَتَوَضَّأَ ، ثُمَّ صَلَّى الظُّهْرَ رَكْعَتَيْنِ وَالْعَصْرَ رَكْعَتَيْنِ وَبَيْنَ يَدَيْهِ عَنَزَةٌ ، وَقَـامَ النَّاسُ فَجَعَلُوا يَأْخُذُونَ يَدَيْهِ فَيَمْسَحُونَ بِهَا وُجُوهَهُمْ قَـالَ أبـو جحيفة : فَأَخَذْتُ بِيَدِهِ فَوَضَعْتُهَا عَلَى وَجْهِي ، فَإِذَا هِيَ أَبْرَدُ مِنَ الثَّلْجِ وَأَطْيَبُ رَائِحَةً مِنَ الْمِسْكِ
"ท่าน ร่อซูลุลเลาะฮ์ ซ๊อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ออกไปยังอัลบัฏฮาอ์ (ซึ่งเป็นสถานหนึ่งที่อยู่นอกเขตมักกะฮ์)ในช่วงที่ร้อนระอุ(หลังจากเที่ยง วันแล้ว) ดังนั้น ท่านนบีได้อาบน้ำละหมาด จากนั้น ท่านได้ทำการละหมาด(รวม)ซุฮริและอัสริอย่างละสองร่อกะอัต โดยที่เบื้องหน้าของท่านมีไม้เท้า(ครึ่งหอกปักอยู่) และ(เมื่อละหมาดเสร็จแล้ว)บรรดาผู้คนก็ได้ยืนขึ้นและพวกเขาก็ได้จับสองมือ ของท่านนบี แล้วนำสองมือของท่านนบีมาลูบที่ใบหน้าของพวกเขา ท่านอบูญุฮัยฟะฮ์ กล่าวว่า ฉันได้จับมือของท่านนบี แล้วนำมาวางบนใบหน้าของฉัน ทันใดนั้น มือของท่านนบีเย็นยิ่งกว่าหิมะและหอมยิ่งกว่าน้ำหอมชะมดเชียง" รายงานโดยบุคอรีย์ (3553)
#คำตอบอยู่ในฟัตวาข้างล่างนี้ครับ
ما حكم المصافحة بعد الصلاة ، وهل هناك فرق بين صلاة الفريضة والنافلة؟
ข้อตัดสิน(หุกุม)ขอการจับมือหลังละหมาดนั้นเป็นอย่างร์ และ ณ ที่นี้ มีความแตกต่างระหว่างละหมาดฟัรดูและละหมาดสุนัต หรือไม่?
الجواب :
الأصل في المصافحة عند اللقاء بين المسلمين شرعيتها ، وقد كان النبي صلى الله عليه وسلم يصافح أصحابه رضي الله عنهم إذا لقيهم وكانوا إذا تلاقوا تصافحوا . قال أنس رضي الله عنه والشعبي رحمه الله : (كان أصحاب النبي صلى الله عليه وسلم إذا تلاقوا تصافحوا وإذا قدموا من سفر تعانقوا) وثبت في الصحيحين أن طلحة بن عبيد الله - أحد العشرة المبشرين بالجنة رضي الله عنهم - قام من حلقة النبي صلى الله عليه وسلم في مسجده عليه الصلاة والسلام إلى كعب بن مالك رضي الله عنه لما تاب الله عليه فصافحه وهنأه بالتوبة وهذا أمر مشهور بين المسلمين في عهد النبي صلى الله عليه وسلم وبعده وثبت عنه صلى الله عليه وسلم أنه قال : ((ما من مسلمين يتلاقيان فيتصافحان إلا تحاتت عنهما ذنوبهما كما يتحات عن الشجرة ورقها)) ، ويستحب التصافح عند اللقاء في المسجد أو في الصف وإذا لم يتصافحا قبل الصلاة تصافحا بعدها تحقيقا لهذه السنة العظيمة . ولما في ذلك من تثبيت المودة وإزالة الشحناء . لكن إذا لم يصافحه قبل الفريضة شرع له أن يصافحه بعدها بعد الذكر المشروع . أما ما يفعله بعض الناس من المبادرة بالمصافحة بعد الفريضة من حين يسلم التسليمة الثانية فلا أعلم له أصلا بل الأظهر كراهة ذلك لعدم الدليل عليه . ولأن المصلي مشروع له في هذه الحال أن يبادر بالأذكار الشرعية التي كان يفعلها النبي صلى الله عليه وسلم بعد السلام من صلاة الفريضة . وأما صلاة النافلة فيشرع المصافحة بعد السلام منها إذا لم يتصافحا قبل الدخول فيها . فإن تصافحا قبل ذلك كفى .
#แปลคำตอบ ตอบ
ราก ฐานในการจับมือนั้น มีบัญญัติใช้ให้ปฏิบัติ ขณะทีพบกันระหว่างมุสลิม และแท้จริงปรากฏว่า นบี ได้จับมือบรรดาเศาะหาบะฮของท่าน (ร.ฎ) เมื่อท่านได้พบกับพวกเขา และพวกเขา(เหล่าเศาะหาบะฮ) เมื่อพบกัน พวกเขาก็จับมือซึ่งกันและกัน ,อะนัส (ร.ฎ) และอัชชุ อฺบีย์ (ขออัลลอฮเมตตาต่อเขา)ได้กล่าวว่า “(บรรดาเศาะหาบะฮของท่านนบี เมื่อพวกเขาพบกัน พวกเขาก็จับมือซึ่งกันและกัน และเมื่อพวกเขากลับจากเดินทาง พวกเขาก็สวมกอดกัน ) และปรากฏรายงานที่ยืนยันในเศาะเฮียะบุคอรีและมุสลิม ว่า แท้จริงฏอ็ลหะฮ บิน อุบัยดิลละฮ ซึ่งเป็นคนหนึ่งจากจำนวนสิบคนที่ได้รับแจ้งข่าวดีว่าจะได้เข้าสวรรค์ (ร.ฎ) ได้ลุกขึ้นยืนจากวงประชุมของท่านนบี แล้วไปหาท่านกะอับ บิน มาลิก(ร.ฎ) ขณะที่เขาได้ทำการเตาบะฮ(จากความผิดที่ไม่ยอมเข้าร่วมรบในวิถีทางของอัลลอฮ) แล้วเขา(ฏอ็ลหะฮ)ได้จับมือกับเขา และเขาได้แสดงความยินดี กับเขา ที่เขาได้ทำการเตาบะฮนั้น และนี้คือ สิ่งที่(ปฏิบัติกัน) อย่างแพร่หลาย ในสมัยของท่านนบี และหลังจากสมัยของท่าน และได้ปรากฏรายงานที่แน่นอนจากท่านนบี ว่า ท่านได้กล่าวว่า (ไม่มีมุสลิมสองคน ที่เขาทั้งสองพบกัน แล้วเขาทั้งสองต่างจับมือซึ่งกันและกัน นอกจาก บาปของเขาทั้งสองจะหลุดร่วง ดัง เช่น ต้นไม้ผลัดใบ ) และชอบให้จับมือกันและกัน เมื่อพบกันในมัสญิด หรือในแถว และเมื่อเขาทั้งสองไม่ได้จับมือกันก่อนละหมาด ก็ให้จับมือกันหลังละหมาดได้ เพื่อเป็นการพิสูจณ์ให้เห็นถึงสุนนะฮอันยิ่งใหญ่นี้ และเมื่อการกระทำดังกล่าวนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากการยืนยันความรักและขจัดความบาดหมาง ที่มีต่อกัน แต่ว่า เมื่อเขาทั้งสองยังไม่ได้จับมือกันก่อนละหมาดฟัรดู ก็มีบัญญัติใช้ให้เขาจับมือกันหลังละหมาด หลังจากที่ได้มีการซิกริลละฮที่ถูกบัญญัติไว้เสร็จแล้ว .สำหรับ สิ่งที่บรรดาผู้คนกระทำกัน จากการรีบเร่ง จับมือซึ่งกันและกัน หลังละหมาดฟัรดู เมื่อมีการกล่าวสลามครั้งที่สองเสร็จนั้น ข้าพเจ้าไม่เคยทราบทีมาของมัน แต่ที่ชัดเจนที่สุดคือ การกระทำดังกล่าวเป็นมักรูฮ(เป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ) เพราะไม่มีหลักฐานบ่งบอกเอาไว้ และเพราะในขณะนั้น ผู้ละหมาดมีบัญญัติใช้ให้เร่งรีบการกล่าวซิกริลละฮ ที่มีบัญญัติไว้ ซึ่งท่านนบี ได้ปฏิบัติมันหลังจากละหมาดฟัรดู และสำหรับการละหมาดสุนัตนั้น ก็ให้จับมือกันหลังจากกล่าวสลาม จากการละหมาดนั้น เมื่อทั้งสองยังไม่ได้จับมือกันก่อนเข้าสู่การละหมาด แต่ถ้าเขาทั้งสองได้จับมือกันแล้วก่อนหน้านั้น ก็ เพียงพอแล้ว(คือไม่ต้องมาจับมือกันอีก) (1)
......................................................
-----------------------------------------(1)
المصدر :
من ضمن أسئلة موجهة إلى سماحة الشيخ ابن باز طبعها الأخ / محمد الشايع في كتاب - مجموع فتاوى و مقالات متنوعة الجزء الحادي عشر
#หะ ดิษข้างต้น เป็นการจับมือแรกพบกัน ไม่ใช่แบบประเพณีบ้านเราที่ เมื่อเสร็จจากละหมาดแล้ว ก็จับมือกัน คนนั้น คนนี้ ทั้งๆที่ เดินมาจากบ้านพร้อมกันด้วยซ้ำ ก่อนละหมาดก็นั่งจับเข่าคุยกัน สาระพัดเรื่อง พอละหมาดเสร็จก็จับมือกัน มันมีแบบที่ใหน
...................................
โดย Ah-lulquran Was-sunnah
ทหารของอัลลอฮ์ แบบฉบับนบี รวบรวม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น